ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาแบบอินเดีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Taweetham (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 19: บรรทัด 19:


ตามแนวทางของ Tilak เราอาจศึกษาตีความศาสนาแบบอินเดียในส่วนของความเหมือนและความแตกต่าง{{sfn|Sharma|2008|p=239}} ผู้ศึกษาจากตะวันตกมักเน้นไปที่ความแตกต่าง ในขณะที่นักวิชาการอินเดียเองมุ่งเน้นศึกษาส่วนที่เหมือนกัน{{sfn|Sherma|2008|p=239}}
ตามแนวทางของ Tilak เราอาจศึกษาตีความศาสนาแบบอินเดียในส่วนของความเหมือนและความแตกต่าง{{sfn|Sharma|2008|p=239}} ผู้ศึกษาจากตะวันตกมักเน้นไปที่ความแตกต่าง ในขณะที่นักวิชาการอินเดียเองมุ่งเน้นศึกษาส่วนที่เหมือนกัน{{sfn|Sherma|2008|p=239}}

===ความเหมือน===

[[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]] [[Jainism]] และ[[ศาสนาซิกข์]] share certain key concepts, which are interpreted differently by different groups and individuals.{{sfn|Sherma|2008|p=239}} Until the 19th century, adherents of those various religions did not tend to label themself as in opposition to each other, but "perceived themselves as belonging to the same extended cultural family".{{sfn|Lipner|1998|p=12}}


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:36, 4 พฤศจิกายน 2556

Ganesha, a deity common to Hindus, Jains, and Buddhists. Primarily a widely-worshipped Hindu deity, he plays a lesser role in other religions.
A Statue of the Buddha.
A Statue of the Jain deity Bahubali.
Guru Nanak and the ten Sikh Gurus in a Tanjore-style painting from the late 19th century.

ศาสนาแบบอินเดีย (อังกฤษ: Indian religions) คือศาสนาที่มีต้นกำเนิดในอนุทวีปอินเดีย ได้แก่ ศาสนาฮินดู ศาสนาเชน ศาสนาพุทธ และศาสนาซิกข์[web 1] ศาสนาเหล่านี้ถือว่าเป็นศาสนาตะวันออกด้วย แม้ศาสนาแบบอินเดียจะเกี่ยวพันกับประวัติศาสตร์อินเดีย แต่ก็ไม่ได้มีอยู่เฉพาะในอนุทวีปอินเดียเท่านั้น ยังได้แพร่หลายไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ด้วย[web 1]

ชาวฮารัปปาในอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุราว 3300-1300 ปีก่อนคริสต์ศักราชมีวัฒนธรรมแบบเมืองมาตั้งแต่ก่อนการเข้ามาของศาสนาพระเวท ชาวทราวิฑและตระกูลภาษาดราวิเดียนในอินเดียใต้ก็มีมาก่อนศาสนาพระเวทเช่นกัน

ประวัติศาสตร์นับจุดเริ่มต้นของศาสนาแบบอินเดียที่ศาสนาพราหมณ์ของชาวอินโด-อารยัน ซึ่งต่อมาได้รวบรวมเป็นคัมภีร์พระเวท และเรียกยุคที่มีการเรียบเรียงคัมภีร์พระเวทว่ายุคพระเวท ซึ่งตรงกับช่วง 1750-550 ปีก่อนคริสต์ศักราช[1] จากนั้นจึงเป็นยุคปฏิรูป ซึ่งได้พัฒนาศาสนาพราหมณ์มาเป็นศาสนาฮินดูในปัจจุบัน[2] มีขบวนการสมณะเป็นขบวนการศาสนาที่เกิดขึ้นแยกจากสายพระเวทและดำรงอยู่คู่ขนานกันมา ศาสนาพุทธ[3] ศาสนาเชน[4] สำนักโยคะ[5] ความเชื่อเรื่องสังสารวัฏ และโมกษะ[6] ก็มีที่มาจากขบวนสมณะนี้ด้วย

ยุคปุราณะซึ่งตรงกับช่วง 200 ปีก่อนคริสต์ศักราชถึง ค.ศ. 500 และต้นยุคกลางซึ่งตรงกับ ค.ศ. 500-1,100 เป็นช่วงที่เกิดสำนักใหม่ ๆ ขึ้นในศาสนาฮินดู เช่น ลัทธิภักติ ลัทธิไศวะ ลัทธิศากติ ลัทธิไวษณพ จากนั้นจึงเข้าสู่ยุคอิสลามราว ค.ศ. 1,100-1,500 และคุรุนานักเทพตั้งศาสนาซิกข์ขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 15[web 2] และแพร่หลายมากในภูมิภาคปัญจาบ

เมื่อถึงยุคจักรวรรดินิยมที่อังกฤษเข้าปกครองอินเดียว กระแสการตีควาใหม่ในศาสนาฮินดูเป็นหนึ่งในตัวช่วยที่ทำให้เกิดกลุ่มเคลื่อนไหวเพื่อปลดปล่อยอินเดีย

ความเหมือนและความแตกต่าง

Aum
แผนที่สแสดงศาสนา Abrahamic (สีชมพู) และศาสนาแบบอินเดีย (เหลือง) ในแต่ละประเทศ

ตามแนวทางของ Tilak เราอาจศึกษาตีความศาสนาแบบอินเดียในส่วนของความเหมือนและความแตกต่าง[7] ผู้ศึกษาจากตะวันตกมักเน้นไปที่ความแตกต่าง ในขณะที่นักวิชาการอินเดียเองมุ่งเน้นศึกษาส่วนที่เหมือนกัน[8]

ความเหมือน

ศาสนาฮินดู ศาสนาพุทธ Jainism และศาสนาซิกข์ share certain key concepts, which are interpreted differently by different groups and individuals.[8] Until the 19th century, adherents of those various religions did not tend to label themself as in opposition to each other, but "perceived themselves as belonging to the same extended cultural family".[9]

อ้างอิง

  1. Michaels 2004, p. 33.
  2. Michaels 2004, p. 38.
  3. Svarghese 2008, p. 259-60.
  4. Jain 2008, p. 210.
  5. Mallinson 2007, p. 17-8, 32-33.
  6. Flood 2003, p. 273-4.
  7. Sharma 2008, p. 239.
  8. 8.0 8.1 Sherma 2008, p. 239.
  9. Lipner 1998, p. 12.

สิ่งพิมพ์

  • Flood, Gavin; Olivelle, Patrick (2003), The Blackwell Companion to Hinduism, Malden: Blackwell
  • Jain, Arun (2008), Faith & philosophy of Jainism
  • Mallinson, James (2007), The Khecarīvidyā of Ādinātha
  • Michaels, Axel (2004), Hinduism. Past and present, Princeton, New Jersey: Princeton University Press
  • Svarghese, Alexander P. (2008), India : History, Religion, Vision And Contribution To The World

เว็บไซต์

  1. 1.0 1.1 Adams, C. J., Classification of religions: Geographical, Encyclopædia Britannica, 2007. Accessed: 15 July 2010
  2. Adherents.com. "Religions by adherents" (PHP). สืบค้นเมื่อ 2007-02-09.