ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือดำ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5: บรรทัด 5:
จากการเป็นเสือดำ เกิดจากความผิดปกติใน[[เม็ดสี]]ที่เรียกว่า[[Melanism|เมลานิซึม]] ส่งผลให้เสือที่เกิดมานั้นเป็นสีดำตลอดทั้งลำตัว โดยที่ยังมีลายหรือลายจุดคงอยู่ แต่จะสังเกตุเห็นได้ยาก จะเห็นได้ชัดเจนเมื่ออยู่ในแสงแดด <ref name="สัตว์"/>
จากการเป็นเสือดำ เกิดจากความผิดปกติใน[[เม็ดสี]]ที่เรียกว่า[[Melanism|เมลานิซึม]] ส่งผลให้เสือที่เกิดมานั้นเป็นสีดำตลอดทั้งลำตัว โดยที่ยังมีลายหรือลายจุดคงอยู่ แต่จะสังเกตุเห็นได้ยาก จะเห็นได้ชัดเจนเมื่ออยู่ในแสงแดด <ref name="สัตว์"/>


เสือดำใน[[เสือดาว]] มักพบได้มากในป่าดิบชื้นในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, เนปาล, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในเบงกอลหรือชวา ใต้ท้องของเสือดำมีสีจางเล็กน้อย ผิวสีดำของเสือดำไม่ได้มีสีดำสนิท และยังคงมีลายแบบเสือดาวอยู่ด้วยซึ่งจะเห็นชัดเวลาต้องแสงแดง<ref>{{cite journal|last=Kawanishi|first=K.|coauthors=Sunquist, M.E., Eizirik, E., Lynam, A.J., Ngoprasert, D., Shahruddin, W.N.W., Rayan, D.M, Sharma, D.S.K., & R. Steinmetz|title=Near fixation of melanism in panthers of the Malay Peninsula|journal=Journal of Zoology|date=18|year=2010|month=May|volume=282|pages=201–206|doi=10.1111/j.1469-7998.2010.00731.x}}</ref> ซึ่งใน[[ภาษาลาว]]เรียกว่า "เสือแมลงภู่" หรือ "เสือลายจ้ำหลอด" เสือดำในประเทศไทยพบได้ในป่าภาคใต้ และจากประสบการณ์ของผู้ที่เลี้ยงดูแลเสือในสวนสัตว์มีความเห็นว่า เสือดำนั้นดุร้ายกว่าเสือดาว<ref name="สัตว์">หน้า 201-213, ''สัตว์ป่าน่ารู้'' โดย โดย พัชรินทร์ ธรรมรส. นิตยสาร SM@RTPET ปีที่ 1 ฉบับที่ 7: มิถุนายน 2545</ref>
เสือดำใน[[เสือดาว]] มักพบได้มากในป่าดิบชื้นในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, เนปาล, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในเบงกอลหรือชวา ใต้ท้องของเสือดำมีสีจางเล็กน้อย ผิวสีดำของเสือดำไม่ได้มีสีดำสนิท และยังคงมีลายแบบเสือดาวอยู่ด้วยซึ่งจะเห็นชัดเวลาต้องแสงแดง<ref>{{cite journal|last=Kawanishi|first=K.|coauthors=Sunquist, M.E., Eizirik, E., Lynam, A.J., Ngoprasert, D., Shahruddin, W.N.W., Rayan, D.M, Sharma, D.S.K., & R. Steinmetz|title=Near fixation of melanism in panthers of the Malay Peninsula|journal=Journal of Zoology|date=18|year=2010|month=May|volume=282|pages=201–206|doi=10.1111/j.1469-7998.2010.00731.x}}</ref> ซึ่งใน[[ภาษาลาว]]เรียกว่า "เสือแมลงภู่" หรือ "เสือลายจ้ำหลอด" เสือดำในประเทศไทยพบได้ในป่าภาคใต้ และจากประสบการณ์ของผู้ที่เลี้ยงดูแลเสือในสวนสัตว์มีความเห็นว่า เสือดำนั้นมีความดุร้ายกว่าเสือดาว<ref name="สัตว์">หน้า 201-213, ''สัตว์ป่าน่ารู้'' โดย โดย พัชรินทร์ ธรรมรส. นิตยสาร SM@RTPET ปีที่ 1 ฉบับที่ 7: มิถุนายน 2545</ref>


เรื่องราวของเสือดำในประเทศไทยเคยเป็นข่าวฮือฮาเมื่อราว พ.ศ. 2521 เมื่อปรากฏข่าวว่า มีเสือดำตัวหนึ่งเพ่นพ่านอยู่แถวมักกะสัน ซึ่งเป็นพื้นที่ในเขตกรุงเ้ทพมหานคร จนเป็นที่หวาดกลัวของผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น จนได้ชื่อว่า "เสือดำมักกะสัน" แต่อีก 2 ปีต่อมาก็ปรากฏว่า เป็นเสือดำที่เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ซื้อมาในราคา 3,000 บาท และนำมาปล่อยไว้เอง เพื่อผลทางจิตวิทยา ก่อนจะจับไปปล่อยไว้ในป่าห้วยขาแข้ง<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=383624 เสือดำในดวงแด] จากโอเคเนชั่น</ref>
เรื่องราวของเสือดำในประเทศไทยเคยเป็นข่าวฮือฮาเมื่อราว พ.ศ. 2521 เมื่อปรากฏข่าวว่า มีเสือดำตัวหนึ่งเพ่นพ่านอยู่แถวมักกะสัน ซึ่งเป็นพื้นที่ในเขตกรุงเ้ทพมหานคร จนเป็นที่หวาดกลัวของผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น จนได้ชื่อว่า "เสือดำมักกะสัน" แต่อีก 2 ปีต่อมาก็ปรากฏว่า เป็นเสือดำที่เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ซื้อมาในราคา 3,000 บาท และนำมาปล่อยไว้เอง เพื่อผลทางจิตวิทยา ก่อนจะจับไปปล่อยไว้ในป่าห้วยขาแข้ง<ref>[http://www.oknation.net/blog/print.php?id=383624 เสือดำในดวงแด] จากโอเคเนชั่น. สืบค้นเมื่อ 16 ตุลาคม 2556.</ref>
[[ภาพ:Male & female Panther at Rhino & Lion nature Reserve, Kromdraai - South Africa.jpg|thumb|left|เสือดำตัวผู้และตัวเมียที่เป็นเสือดาว ในเขตอนุรักษ์ที่แอฟริกาใต้]]
[[ภาพ:Male & female Panther at Rhino & Lion nature Reserve, Kromdraai - South Africa.jpg|thumb|left|เสือดำตัวผู้และตัวเมียที่เป็นเสือดาว ในเขตอนุรักษ์ที่แอฟริกาใต้]]
[[ภาพ:Black leopard.JPG|thumb|left|เสือดาวที่เป็นเสือดำ ที่เห็นลายของเสือดำชัดเ้จนบริเวณสะโพก]]
[[ภาพ:Black leopard.JPG|thumb|left|เสือดาวที่เป็นเสือดำ ที่เห็นลายของเสือดำชัดเ้จนบริเวณสะโพก]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:38, 16 ตุลาคม 2556

สำหรับบุคคล ดูที่: เสือดำ

เสือจากัวร์ที่เป็นเสือดำ

เสือดำ (อังกฤษ: Black panther) เป็นชื่อสามัญเรียกโดยรวมของสัตว์กินเนื้อประเภทเสือและแมว (Felidae) ที่มีลักษณะลำตัวรวมถึงลวดลายเป็นสีดำตลอดทั้งลำตัว ซึ่งเกิดขึ้นได้ในเสือหลายชนิด

จากการเป็นเสือดำ เกิดจากความผิดปกติในเม็ดสีที่เรียกว่าเมลานิซึม ส่งผลให้เสือที่เกิดมานั้นเป็นสีดำตลอดทั้งลำตัว โดยที่ยังมีลายหรือลายจุดคงอยู่ แต่จะสังเกตุเห็นได้ยาก จะเห็นได้ชัดเจนเมื่ออยู่ในแสงแดด [1]

เสือดำในเสือดาว มักพบได้มากในป่าดิบชื้นในทวีปเอเชีย เช่น อินเดีย, เนปาล, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในเบงกอลหรือชวา ใต้ท้องของเสือดำมีสีจางเล็กน้อย ผิวสีดำของเสือดำไม่ได้มีสีดำสนิท และยังคงมีลายแบบเสือดาวอยู่ด้วยซึ่งจะเห็นชัดเวลาต้องแสงแดง[2] ซึ่งในภาษาลาวเรียกว่า "เสือแมลงภู่" หรือ "เสือลายจ้ำหลอด" เสือดำในประเทศไทยพบได้ในป่าภาคใต้ และจากประสบการณ์ของผู้ที่เลี้ยงดูแลเสือในสวนสัตว์มีความเห็นว่า เสือดำนั้นมีความดุร้ายกว่าเสือดาว[1]

เรื่องราวของเสือดำในประเทศไทยเคยเป็นข่าวฮือฮาเมื่อราว พ.ศ. 2521 เมื่อปรากฏข่าวว่า มีเสือดำตัวหนึ่งเพ่นพ่านอยู่แถวมักกะสัน ซึ่งเป็นพื้นที่ในเขตกรุงเ้ทพมหานคร จนเป็นที่หวาดกลัวของผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้น จนได้ชื่อว่า "เสือดำมักกะสัน" แต่อีก 2 ปีต่อมาก็ปรากฏว่า เป็นเสือดำที่เจ้าหน้าที่กรมป่าไม้ซื้อมาในราคา 3,000 บาท และนำมาปล่อยไว้เอง เพื่อผลทางจิตวิทยา ก่อนจะจับไปปล่อยไว้ในป่าห้วยขาแข้ง[3]

เสือดำตัวผู้และตัวเมียที่เป็นเสือดาว ในเขตอนุรักษ์ที่แอฟริกาใต้
เสือดาวที่เป็นเสือดำ ที่เห็นลายของเสือดำชัดเ้จนบริเวณสะโพก

ในเสือจากัวร์ ที่พบในทวีปอเมริกาใต้ก็มีเสือดำเช่นเดียวกัน โดยมีลักษณะการเกิดเช่นเดียวกับเสือดำ[4]

นอกจากนั้นแล้ว เสือดำยังมีพบในเสือหรือแมวประเภทอื่น ๆ เช่น เสือพูม่า ในทวีปอเมริกาเหนือ[5][6], เสือไฟ ซึ่งเป็นเสือขนาดเล็กในทวีปเอเชีย[7] รวมถึงเสือโคร่งด้วย ที่มีการบันทึกรวมถึงเสียงเล่าลือจากอินเดีย ที่มีการพบเห็นเป็นระยะ ๆ แต่ทว่าก็ยังไม่มีหลักฐานที่ชัดเจน[8]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 หน้า 201-213, สัตว์ป่าน่ารู้ โดย โดย พัชรินทร์ ธรรมรส. นิตยสาร SM@RTPET ปีที่ 1 ฉบับที่ 7: มิถุนายน 2545
  2. Kawanishi, K. (18). "Near fixation of melanism in panthers of the Malay Peninsula". Journal of Zoology. 282: 201–206. doi:10.1111/j.1469-7998.2010.00731.x. {{cite journal}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= และ |year= / |date= ไม่ตรงกัน (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |month= ถูกละเว้น (help)
  3. เสือดำในดวงแด จากโอเคเนชั่น. สืบค้นเมื่อ 16 ตุลาคม 2556.
  4. "Bear Creek Sanctuary – Jaglions". Bear Creek Sanctuary. สืบค้นเมื่อ 10 March 2012.
  5. Buffon, Georges-Louis Leclerc (1801) Histoire Naturelle, Paris : Hacquart, an VIII.
  6. Pennant, Thomas (1771) Synopsis of Quadrupeds, J. Monk, p. 180
  7. ข่าวภาคเที่ยง, ช่อง 7: พฤหัสบดีที่ 11 ตุลาคม 2555
  8. Shuker, Karl P N (1989). Mystery Cats of the World. Robert Hale. ISBN 0-7090-3706-6.

แหล่งข้อมูลอื่น