ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไก่ฟ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
'''ที่พบในประเทศไทย'''
'''ที่พบในประเทศไทย'''


*[[นกหว้า]], ''Argusianus argus''
*[[ไก่ฟ้าหลังเทา]], ''Lophura leucomelanos''
*[[ไก่ฟ้าหลังเทา]], ''Lophura leucomelanos''
*[[ไก่ฟ้าหลังขาว]], ''Lophura nycthemera''
*[[ไก่ฟ้าหลังขาว]], ''Lophura nycthemera''
บรรทัด 16: บรรทัด 17:
*[[ไก่ฟ้าหน้าเขียว]], ''Lophura ignita''
*[[ไก่ฟ้าหน้าเขียว]], ''Lophura ignita''
*[[ไก่ฟ้าพญาลอ]], ''Lophura diardi''
*[[ไก่ฟ้าพญาลอ]], ''Lophura diardi''
*[[นกแว่นสีเทา]], ''Polyplectron bicalcaratum''
*[[นกแว่นสีน้ำตาล]], ''Polyplectron malacense''
*[[ไก่ฟ้าหางลายขวาง]], ''Syrmaticus humiae''<ref>Madge, Steve; McGowan, Phil (2002). ''Pheasants, Partridges and Grouse''. Christopher Helm. ISBN 0-7136-3966-0.</ref>
*[[ไก่ฟ้าหางลายขวาง]], ''Syrmaticus humiae''<ref>Madge, Steve; McGowan, Phil (2002). ''Pheasants, Partridges and Grouse''. Christopher Helm. ISBN 0-7136-3966-0.</ref>



รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:07, 30 กันยายน 2556

ไก่ฟ้าสีทอง (Chrysolophus pictus) ตัวผู้ (♂) เป็นไก่ฟ้าที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศจีน

ไก่ฟ้า[1] (อังกฤษ: Pheasant) เป็นชื่อสามัญของนกหลายชนิด หลายสกุล ในวงศ์ไก่ฟ้าและนกกระทา (Phasianidae) โดยมากจะอยู่ในวงศ์ย่อย Phasianinae

ไก่ฟ้า จะมีรูปร่างไล่เลี่ยกับไก่บ้าน มีจะงอยปากและขาแข็งแรงมาก มีลักษณะเด่น คือ ตัวผู้มีหางยาว และสีสันสวยงามกว่าตัวเมีย จัดเป็นความแตกต่างระหว่างเพศเห็นได้ชัดเจน บินได้แต่ในระยะทางสั้น ๆ ทํารังบนพื้นดิน กินเมล็ดพืช, ผลไม้สุก และแมลง เป็นอาหาร[1]

ไก่ฟ้า เป็นนกที่มนุษย์ใช้เนื้อเป็นอาหาร และนิยมเลี้ยงเพื่อเป็นสัตว์เลี้ยง มีหลายชนิดที่มีราคาแพง[2]

ชนิดของไก่ฟ้า

(อาทิ)

ที่พบในประเทศไทย

ที่พบในต่างประเทศ

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 ไก่ฟ้า น. ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
  2. Green-Armytage, Stephen. 2002. Extraordinary Pheasants.Harry N. Abrams, Inc., New York. Book ISBN 0-8109-1007-1.
  3. Madge, Steve; McGowan, Phil (2002). Pheasants, Partridges and Grouse. Christopher Helm. ISBN 0-7136-3966-0.