ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ศูนย์พณิชยการพระนคร"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thummajuk (คุย | ส่วนร่วม)
ScorpianPK (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ข้อมูลมหาวิทยาลัย
==='''ประวัติความเป็นมา'''===
| ชื่อ = มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร
| ภาพ = [[ภาพ:ตรามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.gif|120px]]
| ชื่ออังกฤษ = Rajamangala University of Technology Phanakhon
| ย่อ = RMUTP
| คำขวัญ =
| ก่อตั้ง =
| ประเภท = [[มหาวิทยาลัยรัฐ]]
| ตำแหน่งหัวหน้า = อธิการบดี
| หัวหน้า =
| เพลง =
| สี =
| ที่อยู่ = 86 [[ถนนพิษณุโลก]] [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพฯ]]
| โทรศัพท์ = 0-2282-9009-15
| โทรสาร = 0-2281-0075
| เว็บ = [http://www.bcc.rmutp.ac.th/ www.bcc.rmutp.ac.th]
}}


==ประวัติความเป็นมา==
วิทยาเขตพณิชยการพระนคร ถือกำเนิดมาจาก "โรงเรียนประถมศึกษาพิเศษภาษาอังกฤษ วัดสัมพันธวงศ์" ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2443
{{โครง-ส่วน}}
ซึ่งแผนการศึกษาฉบับนี้กล่าวถึงอาชีวศึกษาในสมัยนั้นว่า "การเรียนวิชาเฉพาะ" และ "วิชาการค้า" เป็นต้น โรงเรียนอาชีพที่เปิดสอนอ
ยู่บ้างแล้วในปี พ.ศ. 2441 นั้น คือ "โรงเรียนฝึกหัดครู" ที่โรงเลี้ยงเด็ก เชิงสะพานยศเสภายหลังเปลี่ยนเป็น "โรงเรียนเบญจมราชูทิศ"
"โรงเรียนแพทย์" "โรงเรียนกฎหมาย" และ "โรงเรียนรังวัดทำแผนที่" ส่วนโรงเรียนประถมศึกษาพิเศษภาษาอังกฤษวัดสัมพันธวงศ์
จัดหลักสูตรเน้นทาง "ภาษาอังกฤษ" เท่านั้น ต่อมาได้เพิ่ม "วิชาเสมียนพนักงาน, วิชาค้าขาย และการบัญชี" ตามแผนการศึกษาใหม่
พ.ศ.2452 ของกระทรวงธรรมการ ซึ่งแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ประเภทคือ "โรงเรียนสามัญศึกษา"


==คณะที่เปิดสอน==
กระทรวงธรรมการได้ตั้งให้พระโอวาทวรกิจเป็นผู้อำนวยการหัตถกรรมและพณิชยการ เพื่อดำเนินการสอนการศึกษาพิเศษภาษาอังกฤษ
* '''คณะบริหารธุรกิจ'''
วัดสัมพันธวงศ์จึงแปรสภาพเป็น "โรงเรียนพณิชยการที่แท้จริงแห่งแรก" เมื่อ พ.ศ. 2445 เรียกว่า "โรงเรียนพณิชการวัดมหาพฤฒาราม"
** สาขาวิชา[[การบัญชี]]
ต่อมาในปี พ.ศ. 2453 ก็ได้เปิดโรงเรียนพณิชยการขึ้นอีกแห่งหนึ่งคือ "โรงเรียนพณิชยการวัดราชบูรณะ"
** สาขาวิชา[[การตลาด]]
** สาขาวิชา[[การเงิน]]
** สาขาวิชา[[การจัดการ|การจัดการทั่วไป]]
** สาขาวิชา[[การจัดการทรัพยากรมนุษย์]]
** สาขาวิชาระบบสารสนเทศฯ
** สาขาวิชาอังกฤษธุรกิจ


* '''คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์'''
โรงเรียนพณิชยการวัดแก้วฟ้าล่างได้เจริญรุ่งเรืองขึ้น จนถึง พ.ศ. 2472 ตึกแพพิทโยทิศคับแคบ จึงให้นักเรียนเข้าใหม่ได้ไปเรียนที่โรงเรียน
** สาขาวิชาการท่องเที่ยว
วัดมหาพฤฒารามอีก แต่ในปีต่อมาเกิดขัดข้องบางประการกับเจ้าของสถานที่ จึงย้ายนักเรียนมาเรียนที่ "โรงเรียนวัดหัวลำโพง" ส่วนการเรียน
** สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล
ชั้นสูงยังคงเรียนอยู่ที่โรงเรียนพณิชยการวัดแก้วฟ้าล่างและในปีเดียวกันได้เปิด "โรงเรียนพณิชยการวัดสามพระยา" ที่บางลำพู การเรียนการ
สอนของโรงเรียนพณิชยการวัดแก้วฟ้าล่างกับโรงเรียนวัดหัวลำโพงยังคงแยกกันเรื่อยมาถึงปี พ.ศ. 2478 จึงได้รวมกันตามเดิมที่โรงเรียน
พณิชยการวัดแก้วฟ้าล่าง


==พระอนุสาวรีย์พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ==
เมื่อปี พ.ศ. 2475 กระทรวงธรรมการได้ประกาศแผนการศึกษาชาติฉบับใหม่เพื่อจัดการศึกษาวิชาชีพให้เหมาะสมกับภูมิประเทศตามท้องถิ่น
'''พระอนุสาวรีย์พลเรือเอก[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์]]''' ถือเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวพณิชยการพระนครตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน และยังถือเป็นประวัติศาสตร์อันน่าภาคภูมิใจของชาวพณิชยการพระนครและเป็นสิริมงคลยิ่งที่[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] ทรงพระมหากรุณา เสด็จฯ เป็นประธานในพิธีเปิดพระอนุสาวรีย์พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
ในปี พ.ศ. 2476 ได้จัดตั้ง "โรงเรียนพณิชยการแผนกหญิงแห่งแรก" ขึ้นที่ "โรงเรียนพณิชยการเสาวภา"


==วันอาภากร==
เนื่องจากโรงเรียนพณิชยการวัดสามพระยาคับแคบ และอาจารย์ใหญ่สมัยนั้นไม่ค่อยจะลงรอยกับเจ้าอาวาสวัดสามพระยา จึงได้ย้ายไปอยู่ที่วัด
'''วันอาภากร''' ตรงกับวันที่ [[19 ธันวาคม]] ของทุกปี ชาวพณิชยการพระนครถือว่าวันนี้เป็นวันสำคัญอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะเป็นวันคล้ายวันประสูติของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์แล้ว ยังเป็นวันที่คณาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ รวมไปถึงศิษย์เก่าร่วมใจกันประกอบ
เทวราชกุญชร เมื่อปี พ.ศ. 2481 เปลี่ยนชื่อใหม่ว่า "โรงเรียนพณิชยการวัดเทวราชกุญชร" ต่อมาอีก 3 ปี "โรงเรียนนี้ได้ย้ายไปรวมกับ
โรงเรียนพณิชยการวัดแก้วฟ้าล่างเมื่อปี พ.ศ. 2483 เป็นอันว่ายังคงเหลือโรงเรียนพณิชยการอยู่เพียงแห่งเดียว จึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "โรงเรียนพณิชยการพระนคร" กรมอาชีวศึกษาเจ้าสังกัดได้ซื้อที่ดินบริเวณ "วังของกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์" ถนนพิษณุโลก
จาสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในราคา 7 แสนบาท เป็นเนื้อที่ 6 ไร่ 3 งาน 34 ตารางวา เพื่อก่อสร้าง "โรงเรียนพณิชยการพระนคร
และได้วางศิลาฤกษ์โดย ฯพณฯ จอมพล ป.พิบูลสงคราม ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2491

ในปี พ.ศ. 2497 และ พ.ศ. 2498 ทางโรงเรียนได้ซื้อที่ดินเพิ่มเติมอีก 6 ไร่ 2 งาน 12 ตารางวา และได้ก่อสร้างอาคารเรียนเพิ่มขึ้น
ในปี พ.ศ. 2499 ทางโรงเรียนก็ได้ซื้อที่ดินอีก 2 ไร่ 72 ตารางวา ซึ่งที่ดินส่วนใหญ่ของแปลงนี้ได้มอบให้แก่ "โรงเรียนช่างตัดเสื้อพระนคร" (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตชุมพรเขตรอุดมศักดิ์) และต่อมาในปี พ.ศ. 2510 โรงเรียนพณิชยการพระนคร ได้รับมอบที่ดิน และสิ่งปลูกสร้างมีเนื้อที่ 3 ไร่ 1 งาน 81 ตารางวา จาก สำนักงานสลากกินแบ่งของรัฐบาลเพื่อปรับปรุงขยายให้เป็น "วิทยาลัย" ปัจจุบันวิทยาเขตพณิชยการพระนครมีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 17 ไร่

ในปีการศึกษา 2511 กระทรวงศึกษาธิการได้อนุมัติให้ขยายการศึกษาถึง "ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง" (ปวส.) ต่อจาก ม.ศ. 6 (ปัจจุบันคือ "ประกาศนียบัตรวิชาชีพ" หรือ "ปวช.") อีก 2 ปี และประกาศตั้งเป็น "วิทยาลัยพณิชยการพระนคร" (The Commercial Collage) ขึ้น และการดำเนินการบางประการจำเป็นต้องอาศัยโรงเรียนพณิชยการพระนครอยู่ ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการจึงสั่งรวมโรงเรียนพณิชยการพระนคร กับวิทยาลัยพณิชยการ เข้าเป็นสถาบันเดียวกัน และได้เรียกชื่อใหม่ว่า "วิทยาลัยพณิชยการพระนคร" (The Bangkok Commercial Collage) ตั้งแต่วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2512 เป็นต้นมา วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2520 เปลี่ยนชื่อเป็น “วิทยาเขตพณิชยการพระนคร” ในสังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2532 “วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา”
เปลี่ยนชื่อเป็น “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 “สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล” ได้รับการสถาปนาและแบ่งออก
เป็นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 9 มหาวิทยาลัย และวิทยาเขตพณิชยการพระนครเข้าสังกัดใน“มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร”

ปัจจุบันวิทยาเขตพณิชยการพระนครเปิดสอนในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.),ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท

==='''คณะที่เปิดสอน'''===
'''คณะบริหารธุรกิจ'''
สาขาวิชาการบัญชี
สาขาวิชาการตลาด
สาขาวิชาการเงิน
สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์
สาขาวิชาระบบสารสนเทศฯ
สาขาวิชาอังกฤษธุรกิจ

'''คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์'''
สาขาวิชาการท่องเที่ยว
สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

==='''พระอนุสาวรีย์พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์'''===
พระอนุสาวรีย์แห่งนี้ถือเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวพณิชยการพระนครตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน และยังถือเป็นประวัติศาสตร์อันน่า
ภาคภูมิใจของชาวพณิชยการพระนครและเป็นสิริมงคลยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระมหากรุณา เสด็จฯ เป็นประธานในพิธีเปิดพระอนุสาวรีย์พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

==='''วันอาภากร'''===
วันที่ 19 ธันวาคม ของทุกปี ชาวพณิชยการพระนครถือว่าวันนี้เป็นวันสำคัญอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะเป็นวันคล้ายวันประสูติของ
พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์แล้ว ยังเป็นวันที่คณาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ รวมไปถึงศิษย์เก่าร่วมใจกันประกอบ
พิธีทางศาสนา พิธีบวงสรวง เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ผู้ให้สถานที่พักพิงและอาศัยวังนางเลิ้งก่อตั้งเป็น “พณิชยการพระนคร” จนถึงปัจจุบัน
พิธีทางศาสนา พิธีบวงสรวง เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ผู้ให้สถานที่พักพิงและอาศัยวังนางเลิ้งก่อตั้งเป็น “พณิชยการพระนคร” จนถึงปัจจุบัน


==='''เรือนหมอพร'''===
=='''เรือนหมอพร'''==
เรือนหมอพรเป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับบพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
'''เรือนหมอพร''' เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับบพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์
ภายในจัดแสดงเครื่องใช้ประจำพระองค์และเครื่องมือแพทย์ และยังเป็นศูนย์วัฒนธรรมของวิทยาเขตพณิชยการพระนคร โดยที่ดินบริเวณนี้ใน
ภายในจัดแสดงเครื่องใช้ประจำพระองค์และเครื่องมือแพทย์ และยังเป็นศูนย์วัฒนธรรมของวิทยาเขตพณิชยการพระนคร โดยที่ดินบริเวณนี้ใน
อดีตเคยเป็นวังที่ประทับของ กรมหลวงชุมพรฯ เหตุที่ให้ชื่อเรือนหลังนี้ว่า “เรือนหมอพร” เพราะทางวิทยาเขตฯ เคยใช้เรือนหลังนี้เป็นเรือน
อดีตเคยเป็นวังที่ประทับของ กรมหลวงชุมพรฯ เหตุที่ให้ชื่อเรือนหลังนี้ว่า “เรือนหมอพร” เพราะทางวิทยาเขตฯ เคยใช้เรือนหลังนี้เป็นเรือน
พยาบาลมาก่อน ส่วนชื่อ “หมอพร” เป็นพระนาม กรมหลวงชุมพรฯ ในบทบาทที่เป็นหมอรักษาคนไข้
พยาบาลมาก่อน ส่วนชื่อ “หมอพร” เป็นพระนาม กรมหลวงชุมพรฯ ในบทบาทที่เป็นหมอรักษาคนไข้


==แหล่งข้อมูลอื่น==
==='''ที่ตั้ง'''===
'''มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร'''
* [http://www.bcc.rmutp.ac.th/ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร]

เลขที่ 86 ถนนพิษณุโลก เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร 0-2282-9101-2 โทรสาร 0-2629-9021,0-2281-0093
{{สถาบันอุดมศึกษา}}

[[หมวดหมู่:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร|พณิชยการพระนคร]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในกรุงเทพมหานคร|ทเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร]]
[[หมวดหมู่:เขตดุสิต ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 12:27, 25 เมษายน 2550

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร วิทยาเขตพณิชยการพระนคร
ไฟล์:ตรามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.gif
ประเภทมหาวิทยาลัยรัฐ

ประวัติความเป็นมา

คณะที่เปิดสอน

  • คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์
    • สาขาวิชาการท่องเที่ยว
    • สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล

พระอนุสาวรีย์พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

พระอนุสาวรีย์พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ถือเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวพณิชยการพระนครตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน และยังถือเป็นประวัติศาสตร์อันน่าภาคภูมิใจของชาวพณิชยการพระนครและเป็นสิริมงคลยิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระมหากรุณา เสด็จฯ เป็นประธานในพิธีเปิดพระอนุสาวรีย์พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์

วันอาภากร

วันอาภากร ตรงกับวันที่ 19 ธันวาคม ของทุกปี ชาวพณิชยการพระนครถือว่าวันนี้เป็นวันสำคัญอย่างยิ่ง เพราะนอกจากจะเป็นวันคล้ายวันประสูติของพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์แล้ว ยังเป็นวันที่คณาจารย์ นักศึกษา เจ้าหน้าที่ รวมไปถึงศิษย์เก่าร่วมใจกันประกอบ พิธีทางศาสนา พิธีบวงสรวง เพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทิตาต่อพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ผู้ให้สถานที่พักพิงและอาศัยวังนางเลิ้งก่อตั้งเป็น “พณิชยการพระนคร” จนถึงปัจจุบัน

เรือนหมอพร

เรือนหมอพร เป็นพิพิธภัณฑ์ที่จัดแสดงเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องกับบพลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ภายในจัดแสดงเครื่องใช้ประจำพระองค์และเครื่องมือแพทย์ และยังเป็นศูนย์วัฒนธรรมของวิทยาเขตพณิชยการพระนคร โดยที่ดินบริเวณนี้ใน อดีตเคยเป็นวังที่ประทับของ กรมหลวงชุมพรฯ เหตุที่ให้ชื่อเรือนหลังนี้ว่า “เรือนหมอพร” เพราะทางวิทยาเขตฯ เคยใช้เรือนหลังนี้เป็นเรือน พยาบาลมาก่อน ส่วนชื่อ “หมอพร” เป็นพระนาม กรมหลวงชุมพรฯ ในบทบาทที่เป็นหมอรักษาคนไข้

แหล่งข้อมูลอื่น