ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตี๋ ชิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Ti Ching.jpg|thumb|200px|ภาพวาดตี้ชิง]]
[[ไฟล์:Ti Ching.jpg|thumb|200px|ภาพวาดตี๋ ชิง]]
'''ตี้ชิง''' หรือ '''เต็กเช็ง''' (ค.ศ. 1008–1057) ({{lang-en|Di Qing, Di Ching}}, {{zh-all|t=漢臣|s=汉臣|p=Hànchén}}, [[เวด-ไจลส์]]: Ti Ching) เป็นแม่ทัพในยุค[[ราชวงศ์ซ้อง]]ที่มีชื่อเสียงปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์และพงศาวดารของจีน
'''ตี๋ ชิง''' ตามสำเนียงกลาง หรือ '''เต็กเช็ง''' ตามสำเนียงฮกเกี้ยน ({{zh-all|c=狄青|p=Dí Qīng|w=Ti2 Ching1}}; ค.ศ. 1008–1057) เป็นแม่ทัพในยุค[[ราชวงศ์ซ้อง]]ที่มีชื่อเสียงปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์และพงศาวดารของจีน


ตี้ชิงเกิดในครอบครัวที่ยากจน ที่ปัจจุบันนี้คือ เมืองเฟิงหยาง [[มณฑลซานซี]] ไต่เต้าจนกระทั่งได้มาเป็นแม่ทัพใหญ่ในยุคของ[[ซ่งเหรินจง|เหรินจง]][[ฮ่องเต้]]
ตี๋ ชิง เกิดในครอบครัวที่ยากจน ณ บริเวณซึ่งปัจจุบันคือ เมืองเฟิงหยาง [[มณฑลซานซี]] ไต่เต้าจนกระทั่งได้มาเป็นแม่ทัพใหญ่ในยุคของ[[ซ่งเหรินจง|เหรินจง]]


เรื่องราวของตี้ชิงปรากฏอยู่ในพงศาวดารจีนที่ชื่อว่า ''萬花樓'' ที่เป็นการหยิบเอาประวัติศาสตร์ที่มีตัวตนจริง ๆ มาแต่งเติมใส่จินตนาการและสีสันของเรื่องราวเข้าไป ซึ่งความในพงศาวดารฉบับนี้ได้กล่าวถึง ตี้ชิงว่าเป็นแม่ทัพที่จงรักภักดีต่อฮ่องเต้อย่างสูง ถึงแม้จะเป็นแม่ทัพแล้ว แต่เมื่อยามออกรบจะบุกอยู่แนวหน้าพร้อมกับทหารเลวทั่วไป จึงเป็นที่เคารพของไพร่พลทั้งหลาย และเมื่อออกรบจะสวมใส่[[หน้ากาก]][[ปีศาจ]]ไว้เพื่อปกปิดใบหน้าของตนเอง เพราะเคยกระทำผิดจนถูกสักที่ใบหน้า และเพื่อข่มขวัญข้าศึกด้วย
เรื่องราวของตี๋ ชิง ปรากฏอยู่ในพงศาวดารจีนชื่อว่า ''萬花樓'' แต่เป็นการเอาประวัติศาสตร์จริง ๆ มาแต่งเติมว่า เป็นขุนทหารที่จงรักภักดีต่อกษัตริย์อย่างสูง แม้เป็นแม่ทัพ แต่เมื่อออกรบ จะอยู่แนวหน้าพร้อมทหารเลว จึงเป็นที่เคารพของไพร่พล และเมื่อออกรบจะใส่หน้ากากปิศาจเพื่อปกปิดใบหน้าตน เพราะเคยกระทำผิดจนถูกสักที่ใบหน้า และเพื่อข่มขวัญข้าศึกด้วย ต่อมา ตี๋ ชิง ถูกใส่ความ และได้[[เปาบุ้นจิ้น]] ชำระคดีให้ ทั้งยังระบุว่า ตี๋ ชิง เป็นดาวทหารจุติมาคู่กับเปาบุ้นจิ้นซึ่งเป็นดาวพลเรือน <ref>[http://www.zh5000.com/ZHJD/gxjd/gxjd-qt-whl.htm 万花楼 {{zh}}]</ref>


เรื่องราวของตี๋ ชิง ได้รับความนิยมในวัฒนธรรมจีนเช่นเดียวกับหลายบุคคลร่วมสมัย เช่น เปาบุ้นจิ้น, [[ขุนศึกตระกูลหยาง]] และได้รับการดัดแปลงเป็น[[ละครโทรทัศน์]]อย่างน้อย 3 ครั้ง คือ ''[[ตี๋ ชิง (ละครโทรทัศน์)|The Legend of Dik Ching]]'' นำแสดงโดย [[เหมียว เฉียวเหว่ย]] เมื่อ ค.ศ. 1986 ''[[วีรบุรุษตี๋ ชิง|The Great General]]'' นำแสดงโดย [[หลิวสงเหยิน|หลิว สงเหยิน]] เมื่อ ค.ศ. 1994 และ ''[[เปาชิงเทียน (เปาบุ้นจิ้น)|Justice Pao]]'' ตอนที่ 176-180 เมื่อ ค.ศ. 1993<ref>[http://data.ent.sina.com.cn/tv/8088.html 包青天 {{zh}}]</ref>
ต่อมาตี้ชิงถูกใส่ความ และได้[[เปาบุ้นจิ้น]] เป็นผู้ที่ตัดสินให้ความเป็นธรรม


== อ้างอิง ==
ซึ่งในพงศาวดารและความเชื่อของชาวจีน ตี้ชิงเป็นดาวบู๊ที่เกิดมาพร้อมกับเปาบุ้นจิ้น ซึ่งเป็นดาวบุ๋นคู่บารมีเหรินจงฮ่องเต้ <ref>[http://www.zh5000.com/ZHJD/gxjd/gxjd-qt-whl.htm 万花楼 {{zh}}]</ref>

เรื่องราวของตี้ชิงถูกเล่าขานต่อมาในวัฒนธรรมจีนเช่นเดียวกับหลายบุคคลร่วมสมัย เช่น เปาบุ้นจิ้น, [[ขุนศึกตระกูลหยาง]] และถูกนำไปดัดแปลงสร้างเป็น[[ละครโทรทัศน์]]อย่างน้อย 3 ครั้ง ในปี [[ค.ศ. 1986]] ในเรื่อง ''[[ตี้ชิง (ละครโทรทัศน์)|The Legend of Dik Ching]]'' นำแสดงโดย [[เหมียว เฉียวเหว่ย]] และ''[[วีรบุรุษตี้ชิง|The Great General]]'' นำแสดงโดย [[หลิวสงเหยิน|หลิว สงเหยิน]] ในปี [[ค.ศ. 1994]] และถูกอ้างอิงถึงใน ''[[เปาชิงเทียน (เปาบุ้นจิ้น)|Justice Pao]]'' ตอนที่ 176-180 ในปี [[ค.ศ. 1993]]<ref>[http://data.ent.sina.com.cn/tv/8088.html 包青天 {{zh}}]</ref>

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}



รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:40, 26 สิงหาคม 2556

ภาพวาดตี๋ ชิง

ตี๋ ชิง ตามสำเนียงกลาง หรือ เต็กเช็ง ตามสำเนียงฮกเกี้ยน (จีน: 狄青; พินอิน: Dí Qīng; เวด-ไจลส์: Ti2 Ching1; ค.ศ. 1008–1057) เป็นแม่ทัพในยุคราชวงศ์ซ้องที่มีชื่อเสียงปรากฏในหน้าประวัติศาสตร์และพงศาวดารของจีน

ตี๋ ชิง เกิดในครอบครัวที่ยากจน ณ บริเวณซึ่งปัจจุบันคือ เมืองเฟิงหยาง มณฑลซานซี ไต่เต้าจนกระทั่งได้มาเป็นแม่ทัพใหญ่ในยุคของเหรินจง

เรื่องราวของตี๋ ชิง ปรากฏอยู่ในพงศาวดารจีนชื่อว่า 萬花樓 แต่เป็นการเอาประวัติศาสตร์จริง ๆ มาแต่งเติมว่า เป็นขุนทหารที่จงรักภักดีต่อกษัตริย์อย่างสูง แม้เป็นแม่ทัพ แต่เมื่อออกรบ จะอยู่แนวหน้าพร้อมทหารเลว จึงเป็นที่เคารพของไพร่พล และเมื่อออกรบจะใส่หน้ากากปิศาจเพื่อปกปิดใบหน้าตน เพราะเคยกระทำผิดจนถูกสักที่ใบหน้า และเพื่อข่มขวัญข้าศึกด้วย ต่อมา ตี๋ ชิง ถูกใส่ความ และได้เปาบุ้นจิ้น ชำระคดีให้ ทั้งยังระบุว่า ตี๋ ชิง เป็นดาวทหารจุติมาคู่กับเปาบุ้นจิ้นซึ่งเป็นดาวพลเรือน [1]

เรื่องราวของตี๋ ชิง ได้รับความนิยมในวัฒนธรรมจีนเช่นเดียวกับหลายบุคคลร่วมสมัย เช่น เปาบุ้นจิ้น, ขุนศึกตระกูลหยาง และได้รับการดัดแปลงเป็นละครโทรทัศน์อย่างน้อย 3 ครั้ง คือ The Legend of Dik Ching นำแสดงโดย เหมียว เฉียวเหว่ย เมื่อ ค.ศ. 1986 The Great General นำแสดงโดย หลิว สงเหยิน เมื่อ ค.ศ. 1994 และ Justice Pao ตอนที่ 176-180 เมื่อ ค.ศ. 1993[2]

อ้างอิง