ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมตระกูลชิคาโก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mieng (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
Mieng (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
==ชิคาโก สคูล (Chicago School)==
==ชิคาโก สคูล (Chicago School)==


ชิคาโกสคูลเป็นกลุ่มสถาปนิกหัวก้าวหน้าในเมืองชิคาโก ที่มีอุดมการณ์ และปรัชญาในแนวเดียวกัน อยู่ในช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ถึงต้นศตวรรษที่ 20 ผลงานของกลุ่มสถาปนิกเหล่านี้ ได้นำความก้าวหน้ามาสู่วงการสถาปัตยกรรมในยุคต่อๆ มาเป็นอย่างมาก
ชิคาโกสคูลเป็นกลุ่มสถาปนิกหัวก้าวหน้าในเมืองชิคาโก ที่มีอุดมการณ์ และปรัชญาในแนวเดียวกัน อยู่ในช่วงปลาย[[คริสต์ศตวรรษที่ 19]] ถึงต้น[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] ผลงานของกลุ่มสถาปนิกเหล่านี้ ได้นำความก้าวหน้ามาสู่วงการสถาปัตยกรรมในยุคต่อๆ มาเป็นอย่างมาก


ด้วยความเจริญเติบโตของเมืองในยุคอุตสาหกรรมเฟื่องฟู เมืองชิคาโกต้องการอาคารเพื่อการพาณิชย์ และอาคารสำนักงาน เพื่อความต้องการของเมือง รูปแบบของงานสถาปัตยกรรมจึงตอบสนองการใช้งานของอาคารได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น อาคารสรรพสินค้า หรืออาคารสำนักงาน ที่ดูเหมือนว่าจะไม่เหมาะกับการใช้โครงสร้างผนังรับน้ำหนัก (wall-Bearing) แบบเดิมสักเท่าไหร่ สถาปนิกจึงได้ร่วมมือกับวิศวกร (William Le Baron Jenny) นำเอาเทคนิควิทยาการการก่อสร้างที่ก้าวหน้าต่างๆ มาประยุกต์ใช้กับอาคารใหม่ๆ ในเมืองชิคาโก จึงเกิดระบบการก่อสร้างที่เรียกว่า "Skeleton Construction"
ด้วยความเจริญเติบโตของเมืองในยุคอุตสาหกรรมเฟื่องฟู เมืองชิคาโกต้องการอาคารเพื่อการพาณิชย์ และอาคารสำนักงาน เพื่อความต้องการของเมือง รูปแบบของงานสถาปัตยกรรมจึงตอบสนองการใช้งานของอาคารได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น อาคารสรรพสินค้า หรืออาคารสำนักงาน ที่ดูเหมือนว่าจะไม่เหมาะกับการใช้โครงสร้างผนังรับน้ำหนัก (wall-Bearing) แบบเดิมสักเท่าไหร่ สถาปนิกจึงได้ร่วมมือกับวิศวกร (William Le Baron Jenny) นำเอาเทคนิควิทยาการการก่อสร้างที่ก้าวหน้าต่างๆ มาประยุกต์ใช้กับอาคารใหม่ๆ ในเมืองชิคาโก จึงเกิดระบบการก่อสร้างที่เรียกว่า "Skeleton Construction"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:53, 9 กันยายน 2548

ชิคาโก สคูล (Chicago School)

ชิคาโกสคูลเป็นกลุ่มสถาปนิกหัวก้าวหน้าในเมืองชิคาโก ที่มีอุดมการณ์ และปรัชญาในแนวเดียวกัน อยู่ในช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ผลงานของกลุ่มสถาปนิกเหล่านี้ ได้นำความก้าวหน้ามาสู่วงการสถาปัตยกรรมในยุคต่อๆ มาเป็นอย่างมาก

ด้วยความเจริญเติบโตของเมืองในยุคอุตสาหกรรมเฟื่องฟู เมืองชิคาโกต้องการอาคารเพื่อการพาณิชย์ และอาคารสำนักงาน เพื่อความต้องการของเมือง รูปแบบของงานสถาปัตยกรรมจึงตอบสนองการใช้งานของอาคารได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น อาคารสรรพสินค้า หรืออาคารสำนักงาน ที่ดูเหมือนว่าจะไม่เหมาะกับการใช้โครงสร้างผนังรับน้ำหนัก (wall-Bearing) แบบเดิมสักเท่าไหร่ สถาปนิกจึงได้ร่วมมือกับวิศวกร (William Le Baron Jenny) นำเอาเทคนิควิทยาการการก่อสร้างที่ก้าวหน้าต่างๆ มาประยุกต์ใช้กับอาคารใหม่ๆ ในเมืองชิคาโก จึงเกิดระบบการก่อสร้างที่เรียกว่า "Skeleton Construction"

Skeleton Construction เป็นระบบการถ่ายน้ำหนักของอาคารลงมาตามจุดโครงสร้างของอาคารตลอดจนถึงฐานราก เหมาะกับอาคารสูง และยังสามารถเจาะช่องเปิดได้กว้างมากอีกด้วย อาคารหลังแรกที่ใช้ระบบการก่อสร้างนี้คือ อาคารโฮมอินชัวแรนส์ (The Home Insurance Building)