ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะไทย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
ภาพลายไทย เป็นลายที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยมีธรรมชาติมาเป็นแรงดลบันดาลใจ โดยดัดแปลงธรรมชาติให้เป็นลวดลายใหม่อย่างสวยงาม เช่น ตาอ้อย ก้ามปู เปลวไฟ รวงข้าว และดอกบัว ฯลฯ ลายไทยเดิมทีเดียวเรียกกันว่า "กระหนก" หมายถึงลวดลาย เช่น กระหนกลาย กระหนกก้านขด ต่อมามีคำใช้ว่า "กนก" หมายถึง ทอง กนกปิดทอง กนกตู้ลายทอง แต่จะมีใช้เมื่อใดยังไม่มีหลักฐานแน่ชัด ซึ่งคำเดิม "กระหนก" นี้เข้าใจเป็นคำแต่สมัยโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยทวาราวดี โดยเรียกติดต่อกันจนเป็นคำเฉพาะ หมายถึงลวดลายก้านขด ลายก้านปู ลายก้างปลา ลายกระหนกเปลว เป็นต้น
ภาพลายไทย เป็นลายที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยมีธรรมชาติมาเป็นแรงดลบันดาลใจ โดยดัดแปลงธรรมชาติให้เป็นลวดลายใหม่อย่างสวยงาม เช่น ตาอ้อย ก้ามปู เปลวไฟ รวงข้าว และดอกบัว ฯลฯ ลายไทยเดิมทีเดียวเรียกกันว่า "กระหนก" หมายถึงลวดลาย เช่น กระหนกลาย กระหนกก้านขด ต่อมามีคำใช้ว่า "กนก" หมายถึง ทอง กนกปิดทอง กนกตู้ลายทอง แต่จะมีใช้เมื่อใดยังไม่มีหลักฐานแน่ชัด ซึ่งคำเดิม "กระหนก" นี้เข้าใจเป็นคำแต่สมัยโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยทวาราวดี โดยเรียกติดต่อกันจนเป็นคำเฉพาะ หมายถึงลวดลายก้านขด ลายก้านปู ลายก้างปลา ลายกระหนกเปลว เป็นต้น
การเขียนลายไทย ได้จัดแบ่งตามลักษณะที่จัดเป็นแม่บทใช้ในการเขียนภาพมี 4 ลาย ด้วยกัน คือลายกระหนก ลายนารี ลายกระบี่และลายคชะ เป็นต้น
การเขียนลายไทย ได้จัดแบ่งตามลักษณะที่จัดเป็นแม่บทใช้ในการเขียนภาพมี 4 ลาย ด้วยกัน คือลายกระหนก ลายนารี ลายกระบี่และลายคชะ เป็นต้น
'''ลายกำมะลอ'''<br />
การเขียนลายกำมะลอ เป็นงานเขียนวาดเส้น และ ระบายทำเป็นลวดลาย หรือ รูปภาพด้วยวิธีการอย่างโบราณ วิธีหนึ่งที่เขียนเป็นลวดลาย และ เขียนเป็นรูปภาพต่างๆ เขียนระบายด้วยสีหม่นๆ บนพื้น ซึ่งทาด้วยยางรักเป็นสีดำสนิท แสดงเส้นล้อมเป็นขอบรูปภาพ หรือ ลวดลายด้วยเส้นสีทองสดใส เพิ่มความชัดเจน และ น่าสนใจชมขึ้นบนพื้นสีดำ
“กำมะลอ” คือ ของที่ทำเทียม มีลักษณะไม่คงทน
“กำมะลอ”สำหรับช่างเขียนไทย คือ “งานเขียนสีผสมน้ำรัก”
ช่างไทยโบราณถือว่า งาน “ลายกำมะลอ” เกิดจากการนำลาย มาวาดผูกกันให้เกิดเป็นรูปภาพ ดังนั้นคำว่า “ลายกำมะลอ” จึงหมายถึง “ภาพเขียนผูกขึ้น ด้วยลายระบายด้วยสีกำมะลอ
ที่มาของลายกำมะลอ
ประเทศจีนเป็นต้นกำเนิดของลายกำมะลอ ชาวจีนใช้ลายกำมะลอเขียนตกแต่งเครื่องเรือนชนิดต่างๆเช่น ลับแล ฝาตู้ ฉากพับ เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยลายกำมะลอปรากฏขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย โดยสันนิษฐานว่าพ่อค้าชาวจีนนำเข้ามาโดยบรรทุกเครื่องเรือนมากับเรือสำเภาเข้ามาค้าขายในกรุงศรีอยุธยา คนไทยได้พบเห็นลายกำมะลอ เกิดความพึงพอใจ แต่ไม่สามารถเขียนขึ้นได้เพราะไม่รู้วิธีผสมสีผสมน้ำยา ต่อมาช่างไม้ชาวจีนเข้ามาตั้งรับจ้างต่อเครื่องเรือนขายในกรุงศรีอยุธยา ช่างจีนพวกนี้ได้เขียนลวดลายกำมะลอ คนไทยผ่านมาพบเห็นจึงจดจำและนำไปทำตาม จึงได้มีการเขียนลายกำมะลอที่งดงาม ตกแต่งประดับอยู่ตามฝาตู้ ฝาหีบเป็นจำนวนมากในสมัยอยุธยาตอนปลาย
ลักษณะของลายกำมะลอ
การระบายสีในลายกำมะลอ เป็นการระบายสีโดย ใช้สีฝุ่นต่าง ๆ ผสมยางรัก ยางรักมีคุณสมบัติยึดสีให้จับติดกับพื้นที่ทาไว้ด้วย ยางรักมีสีดำ สีฝุ่นที่ใช้เมื่อผสมกับยางรักสีดำก็กลายเป็นสีที่หม่นทุกสี สีผสมยางรักนี้เมื่อนำมาเขียนระบายเป็นรูปภาพขึ้นบนพื้นที่ทายาง รักสีดำขึ้นไว้แต่แรกก็จะเป็นรูปภาพ ช่วยให้เด่นเห็นชัดเจนขึ้น ลายกำมะลอที่เขียนขึ้นจะมีเอกลักษณ์เฉพาะเด่นชัดคือ พื้นสีดำ ลวดลายหรือรูปภาพมีสีสันต่าง ๆที่หม่น ส่วนที่เห็นชัดขึ้นมาจากพื้นที่เป็นสีหม่น คือสีทองของเส้นที่แสดงรายละเอียดต่าง ๆ ของลวดลายหรือรูปภาพ ลายกำมะลอ เป็นงานตกแต่งซึ่งทำขึ้นบนบานประตู บานหน้าต่าง ฝาตู้ ฝาหีบ ฉาก ลับแล หน้าใบ ประกับคัมภีร์ แผงข้าง เป็นต้น
วิธีการเขียนลายกำมะลอ
1.ร่างแบบ ในงานร่างภาพ หรือ ลวดลาย ขึ้นเป็นแบบลงบนพื้นที่ได้ทารักรองพื้นไว้ เพื่อจะระบายสีลงเป็นรูปภาพ หรือ ลวดลายต่อไปนั้น ได้แก่
1.1 ใช้ดินสอขาวเหลา มีปลายเรียวแหลมเขียนเส้น ร่างลงบนพื้นที่รัก แต่พอเป็นเค้ารอยรูปภาพ หรือ ลวดลายตามที่คิดจะให้เป็น เรียกว่า “กระทบเส้น”วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมือดี
1.2 ร่างแบบลงบนกระดาษ ขนาดเท่ากับพื้นที่ได้ทำเตรียมขึ้นไว้ แล้วทำเป็นแบบโรยด้วยวิธีเดียว กันกับการทำแบบโรย วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมืออ่อน
2.การระบายสี ใช้สีระบายรูปภาพเล็กน้อยไม่นิยมไล่น้ำหนักสี
3.การเขียน ลงเส้นทอง ที่เป็นรายละเอียดในรูปภาพ ลวดลายให้เป็นรูปภาพ รูปลักษณ์ให้มีความชัดเจน ได้แก่ การเขียนลงเส้นโรยฝุ่นทอง และการเขียนลงเส้นปิดทองคำเปลว
งานประณีตศิลป์ประเภทลายกำมะลอขาดตอนลงไประหว่างสมัยที่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 จนกระทั่งมาถึงสมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชดำริให้ฟื้นฟูขึ้นมา ดังจะได้พรรณนาต่อไปข้างหน้า
งานเขียนลายกำมะลอ ที่ได้ทำขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีทั้งงานขนาดย่อมและงานขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากเป็นประณีตศิลป์ที่ทำขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา
งานเขียนลายกำมะลอขนาดย่อม ได้แก่ประเภทไม้ประกับหน้าผูกคัมภีร์ หีบไม้ใส่สมุดพระมาลัย เป็นต้น
งานเขียนลายกำมะลอมีในงานขนาดใหญ่ แสดงให้เห็นความสำคัญและคุณค่ามาก คืองานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและบานหน้าต่างของโบสถ์ และวิหารในวัดสำคัญตัวอย่างเช่น ลายกำมะลอบนบานประตู และบานหน้าต่าง พระวิหารและศาลาการเปรียญวัดเฉลิมพระเกียรติที่จังหวัดนนทบุรี กระบวนการ
เขียนที่นี่มีลักษณะพิเศษตรงที่การใช้สีครามอ่อนอมเขียว ซึ่งเป็นสีที่ไม่เคยปรากฏใช้ในที่แห่งอื่น ๆ สีครามอ่อนอมเขียวเป็นใบไม้บนบานประตูและบานหน้าต่าง ณ สถานที่แห่งนี้ สดใสเป็นพิเศษ เป็นสิ่งแปลกในกระบวนการผสมสีในการเขียนระบายลายกำมะลอเพราะโดยปรกติของการผสมสีฝุ่นกับยางรักสีแต่ละสีจะถูกยางรักกดความสดใสลงถึงครึ่งหนึ่ง ทำให้สีในงานเขียนกำมะลอ ดูหม่นมืดทุกสีแต่ในกรณีสีครามอมเขียวบนบานประตูและบานหน้าต่างพระวิหารกับศาลาการเปรียญที่วัดเฉลิมพระเกียรติ น่าที่จะมีวิธีการผสมสีเป็นพิเศษต่างกว่าที่รู้ ๆ กันในเวลานั้น และน่าจะกล่าวได้ว่าเป็นวิธีการเฉพาะตัวของช่างผู้ทำการเขียนที่นั่นโดยแท้ทั้งนี้ไม่ปรากฏมีงานเขียนลายกำมะลอเขียนสีครามอ่อนอมเขียวได้รับการทำขึ้นในภายหลังแลวิธีการผสมสีให้สดใสก็ยังเป็นความลับมาจนปัจจุบัน งานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและหน้าต่าง ซึ่งได้ทำขึ้นเมื่อรัชกาลที่ 3 ที่มีความสวยงามและเป็นตัวอย่างที่ดีคือ บานประตูและบานหน้าต่างหอไตร วัดโมฬีโลกยาราม ริมคลองบางกอกใหญ่ แต่เป็นเรื่องน่าเสียดายอย่างยิ่งที่ภาพลวดลายเขียนด้วยวิธีกำมะลอส่วนใหญ่หลุดลอกและสีตกจางลงไปมากบางส่วนก็สูญหายและไม่เห็นร่องรอยเดิมเหลืออยู่เลย


'''ลายกำมะลอ'''
== ตัวอักษรหัวเรื่อง ==
== ตัวอักษรหัวเรื่อง ==
การเขียนลายกำมะลอ เป็นงานเขียนวาดเส้น และ ระบายทำเป็นลวดลาย หรือ รูปภาพด้วยวิธีการอย่างโบราณ วิธีหนึ่งที่เขียนเป็นลวดลาย และ เขียนเป็นรูปภาพต่างๆ เขียนระบายด้วยสีหม่นๆ บนพื้น ซึ่งทาด้วยยางรักเป็นสีดำสนิท แสดงเส้นล้อมเป็นขอบรูปภาพ หรือ ลวดลายด้วยเส้นสีทองสดใส เพิ่มความชัดเจน และ น่าสนใจชมขึ้นบนพื้นสีดำ
การเขียนลายกำมะลอ เป็นงานเขียนวาดเส้น และ ระบายทำเป็นลวดลาย หรือ รูปภาพด้วยวิธีการอย่างโบราณ วิธีหนึ่งที่เขียนเป็นลวดลาย และ เขียนเป็นรูปภาพต่างๆ เขียนระบายด้วยสีหม่นๆ บนพื้น ซึ่งทาด้วยยางรักเป็นสีดำสนิท แสดงเส้นล้อมเป็นขอบรูปภาพ หรือ ลวดลายด้วยเส้นสีทองสดใส เพิ่มความชัดเจน และ น่าสนใจชมขึ้นบนพื้นสีดำ

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:08, 11 กรกฎาคม 2556

ศิลปะไทย เป็นเอกลักษณ์ของชาติไทย ซึ่งคนไทยทั้งชาติต่างภาคภูมิใจอย่างยิ่ง ความงดงามที่สืบทอดอันยาวนานมาตั้งแต่อดีต บ่งบอกถึงวัฒนธรรมที่เกิดขึ้น โดยมีพัฒนาการบนพื้นฐานของความเป็นไทย ลักษณะนิสัยที่อ่อนหวาน ละมุนละไม รักสวยรักงาม ที่มีมานานของสังคมไทย ทำให้ศิลปะไทยมีความประณีตอ่อนหวาน เป็นความงามอย่างวิจิตรอลังการที่ทุกคนได้เห็นต้องตื่นตา ตื่นใจ อย่างบอกไม่ถูก ลักษณะความงามนี้จึงได้กลายเป็นความรู้สึกทางสุนทรียภาพโดยเฉพาะคนไทยและศิลปะไทยยังตัดเส้นด้วยสีดำและสีน้ำตาลเท่านั้น

เมื่อเราได้สืบค้นความเป็นมาของสังคมไทย พบว่าวิถีชีวิตอยู่กันอย่างเรียบง่าย มีประเพณีและศาสนาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรมมาก่อน ดังนั้น ความผูกพันของจิตใจจึงอยู่ที่ธรรมชาติแม่น้ำและพื้นดิน สิ่งหล่อหลอมเหล่านี้จึงเกิดบูรณาการเป็นความคิด ความเชื่อและประเพณีในท้องถิ่น แล้วถ่ายทอดเป็นวัฒนธรรมไทยอย่างงดงาม ที่สำคัญวัฒนธรรมช่วยส่งต่อคุณค่าความหมายของสิ่งอันเป็นที่ยอมรับในสังคมหนึ่ง ๆ ให้คนในสังคมนั้นได้รับรู้แล้วขยายไปในขอบเขตที่กว้างขึ้น ซึ่งส่วนใหญ่การสื่อสารทางวัฒนธรรมนั้นกระทำโดยผ่านสัญลักษณ์ และสัญลักษณ์นี้คือผลงานของมนุษย์นั้นเองที่เรียกว่า ศิลปะไทย

ปัจจุบันคำว่า "ศิลปะไทย" กำลังจะถูกลืมเมื่ออิทธิพลทางเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาแทนที่สังคมเก่าของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกแห่งการสื่อสารได้ก้าวไปล้ำยุคมาก จนเกิดความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัดเมื่อเปรียบเทียบกับสมัยอดีต โลกใหม่ยุคปัจจุบันทำให้คนไทยมีความคิดห่างไกลตัวเองมากขึ้น และอิทธิพลดังกล่าวนี้ทำให้คนไทยลืมตัวเราเองมากขึ้นจนกลายเป็นสิ่งสับสนอยู่กับสังคมใหม่อย่างไม่รู้ตัว มีความวุ่นวายด้วยอำนาจแห่งวัฒนธรรมสื่อสารที่รีบเร่งรวดเร็วจนลืมความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ

เมื่อเราหันกลับมามองตัวเราเองใหม่ ทำให้ดูห่างไกลเกินกว่าจะกลับมาเรียนรู้ว่า พื้นฐานของชาติบ้านเมืองเดิมเรานั้น มีความเป็นมาหรือมีวัฒนธรรมอย่างไร ความรู้สึกเช่นนี้ ทำให้เราลืมมองอดีตตัวเอง การมีวิถีชีวิตกับสังคมปัจจุบันจำเป็นต้องดิ้นรนต่อสู้กับปัญหาต่าง ๆ ที่วิ่งไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว ถ้าเรามีปัจจุบันโดยไม่มีอดีต เราก็จะมีอนาคตที่คลอนแคลนไม่มั่นคง การดำเนินการนำเสนอแนวคิดในการจัดการเรียนการสอนศิลปะในครั้งนี้ จึงเป็นเสมือนการค้นหาอดีต โดยเราชาวศิลปะต้องการให้อนุชนได้มองเห็นถึง ความสำคัญของบรรพบุรุษ ผู้สร้างสรรค์ศิลปะไทย ให้เราทำหน้าที่สืบสานต่อไปในอนาคต

ความเป็นมาของศิลปะไทย

ไทยเป็นชาติที่มีศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีของตนเองมาช้านานแล้ว เริ่มตั้งแต่ก่อนประวัติศาสตร์ ศิลปะไทยจะวิวัฒนาการและสืบเนื่องเป็นตัวของตัวเองในที่สุด เท่าที่เราทราบราว พ.ศ. 300 จนถึง พ.ศ. 1800 พระพุทธศาสนานำเข้ามาโดยชาวอินเดีย ครั้งนั้นแสดงให้เห็นอิทธิพลต่อรูปแบบของศิลปะไทยในทุก ๆ ด้านรวมทั้งภาษา วรรณกรรม ศิลปกรรม โดยกระจายเป็นกลุ่มศิลปะสมัยต่าง ๆ เริ่มตั้งแต่สมัยทวาราวดี ศรีวิชัย ลพบุรี เมื่อกลุ่มคนไทยตั้งตัวเป็นปึกแผ่นแล้ว ศิลปะดังกล่าวจะตกทอดกลายเป็นศิลปะไทย ช่างไทยพยายามสร้างสรรค์ให้มีลักษณะพิเศษกว่า งานศิลปะของชาติอื่น ๆ คือ จะมีลวดลายไทยเป็นเครื่องตกแต่ง ซึ่งทำให้ลักษณะของศิลปะไทยมีรูปแบบเฉพาะมีความอ่อนหวาน ละมุนละไม และได้สอดแทรกวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีและความรู้สึกของคนไทยไว้ในงานอย่างลงตัว ดังจะเห็นได้จากภาพฝาผนังตามวัดวาอารามต่าง ๆ ปราสาทราชวัง ตลอดจนเครื่องประดับและเครื่องใช้ทั่วไป

ลักษณะของศิลปะไทย

ศิลปะไทยได้รับอิทธิพลจากธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมในสังคมไทย ซึ่งมีลักษณะเด่น คือ ความเป็นอยู่และการดำรงชีวิตของคนไทยที่ได้สอดแทรกไว้ในผลงานที่สร้างสรรค์ขึ้น โดยเฉพาะศิลปกรรมที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติของไทย อาจกล่าวได้ว่าศิลปะไทยสร้างขึ้นเพื่อส่งเสริมพุทธศาสนา เป็นการเชื่อมโยงและโน้มน้าวจิตใจของประชาชนให้เกิดความเลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนา

ภาพไทย หรือ จิตรกรรมไทย จัดเป็นภาพเล่าเรื่องที่เขียนขึ้นด้วยความคิดจินตนาการของคนไทย มีลักษณะตามอุดมคติของกระบวนงานช่างไทย คือ

  1. เขียนสีแบน ไม่คำนึงถึงแสงและเงา นิยมตัดเส้นให้เห็นชัดเจน และเส้นที่ใช้ จะแสดงความรู้สึกเคลื่อนไหวนุ่มนวล
  2. เขียนตัวพระ-นาง เป็นแบบละคร มีลีลา ท่าทางเหมือนกัน ผิดแผกแตกต่าง กันด้วยสีร่างกายและเครื่องประดับ
  3. เขียนแบบตานกมอง หรือเป็นภาพต่ำกว่าสายตา โดยมุมมองจากที่สูงลงสู่ ล่าง จะเห็นเป็นรูปเรื่องราวได้ตลอดภาพ
  4. เขียนติดต่อกันเป็นตอน ๆ สามารถดูจากซ้ายไปขวาหรือล่างและบนได้ทั่ว ภาพ โดยขั้นตอนภาพด้วยโขดหิน ต้นไม้ กำแพงเมือง และเส้นสินเทาหรือ คชกริด เป็นต้น
  5. เขียนประดับตกแต่งด้วยลวดลายไทย มีสีทองสร้างภาพให้เด่นเกิดบรรยากาศ สุขสว่างและมีคุณค่ามากขึ้น

ภาพลายไทย เป็นลายที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยมีธรรมชาติมาเป็นแรงดลบันดาลใจ โดยดัดแปลงธรรมชาติให้เป็นลวดลายใหม่อย่างสวยงาม เช่น ตาอ้อย ก้ามปู เปลวไฟ รวงข้าว และดอกบัว ฯลฯ ลายไทยเดิมทีเดียวเรียกกันว่า "กระหนก" หมายถึงลวดลาย เช่น กระหนกลาย กระหนกก้านขด ต่อมามีคำใช้ว่า "กนก" หมายถึง ทอง กนกปิดทอง กนกตู้ลายทอง แต่จะมีใช้เมื่อใดยังไม่มีหลักฐานแน่ชัด ซึ่งคำเดิม "กระหนก" นี้เข้าใจเป็นคำแต่สมัยโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยทวาราวดี โดยเรียกติดต่อกันจนเป็นคำเฉพาะ หมายถึงลวดลายก้านขด ลายก้านปู ลายก้างปลา ลายกระหนกเปลว เป็นต้น การเขียนลายไทย ได้จัดแบ่งตามลักษณะที่จัดเป็นแม่บทใช้ในการเขียนภาพมี 4 ลาย ด้วยกัน คือลายกระหนก ลายนารี ลายกระบี่และลายคชะ เป็นต้น ลายกำมะลอ

การเขียนลายกำมะลอ เป็นงานเขียนวาดเส้น และ ระบายทำเป็นลวดลาย หรือ รูปภาพด้วยวิธีการอย่างโบราณ วิธีหนึ่งที่เขียนเป็นลวดลาย และ เขียนเป็นรูปภาพต่างๆ เขียนระบายด้วยสีหม่นๆ บนพื้น ซึ่งทาด้วยยางรักเป็นสีดำสนิท แสดงเส้นล้อมเป็นขอบรูปภาพ หรือ ลวดลายด้วยเส้นสีทองสดใส เพิ่มความชัดเจน และ น่าสนใจชมขึ้นบนพื้นสีดำ “กำมะลอ” คือ ของที่ทำเทียม มีลักษณะไม่คงทน “กำมะลอ”สำหรับช่างเขียนไทย คือ “งานเขียนสีผสมน้ำรัก” ช่างไทยโบราณถือว่า งาน “ลายกำมะลอ” เกิดจากการนำลาย มาวาดผูกกันให้เกิดเป็นรูปภาพ ดังนั้นคำว่า “ลายกำมะลอ” จึงหมายถึง “ภาพเขียนผูกขึ้น ด้วยลายระบายด้วยสีกำมะลอ ที่มาของลายกำมะลอ ประเทศจีนเป็นต้นกำเนิดของลายกำมะลอ ชาวจีนใช้ลายกำมะลอเขียนตกแต่งเครื่องเรือนชนิดต่างๆเช่น ลับแล ฝาตู้ ฉากพับ เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยลายกำมะลอปรากฏขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย โดยสันนิษฐานว่าพ่อค้าชาวจีนนำเข้ามาโดยบรรทุกเครื่องเรือนมากับเรือสำเภาเข้ามาค้าขายในกรุงศรีอยุธยา คนไทยได้พบเห็นลายกำมะลอ เกิดความพึงพอใจ แต่ไม่สามารถเขียนขึ้นได้เพราะไม่รู้วิธีผสมสีผสมน้ำยา ต่อมาช่างไม้ชาวจีนเข้ามาตั้งรับจ้างต่อเครื่องเรือนขายในกรุงศรีอยุธยา ช่างจีนพวกนี้ได้เขียนลวดลายกำมะลอ คนไทยผ่านมาพบเห็นจึงจดจำและนำไปทำตาม จึงได้มีการเขียนลายกำมะลอที่งดงาม ตกแต่งประดับอยู่ตามฝาตู้ ฝาหีบเป็นจำนวนมากในสมัยอยุธยาตอนปลาย ลักษณะของลายกำมะลอ การระบายสีในลายกำมะลอ เป็นการระบายสีโดย ใช้สีฝุ่นต่าง ๆ ผสมยางรัก ยางรักมีคุณสมบัติยึดสีให้จับติดกับพื้นที่ทาไว้ด้วย ยางรักมีสีดำ สีฝุ่นที่ใช้เมื่อผสมกับยางรักสีดำก็กลายเป็นสีที่หม่นทุกสี สีผสมยางรักนี้เมื่อนำมาเขียนระบายเป็นรูปภาพขึ้นบนพื้นที่ทายาง รักสีดำขึ้นไว้แต่แรกก็จะเป็นรูปภาพ ช่วยให้เด่นเห็นชัดเจนขึ้น ลายกำมะลอที่เขียนขึ้นจะมีเอกลักษณ์เฉพาะเด่นชัดคือ พื้นสีดำ ลวดลายหรือรูปภาพมีสีสันต่าง ๆที่หม่น ส่วนที่เห็นชัดขึ้นมาจากพื้นที่เป็นสีหม่น คือสีทองของเส้นที่แสดงรายละเอียดต่าง ๆ ของลวดลายหรือรูปภาพ ลายกำมะลอ เป็นงานตกแต่งซึ่งทำขึ้นบนบานประตู บานหน้าต่าง ฝาตู้ ฝาหีบ ฉาก ลับแล หน้าใบ ประกับคัมภีร์ แผงข้าง เป็นต้น วิธีการเขียนลายกำมะลอ 1.ร่างแบบ ในงานร่างภาพ หรือ ลวดลาย ขึ้นเป็นแบบลงบนพื้นที่ได้ทารักรองพื้นไว้ เพื่อจะระบายสีลงเป็นรูปภาพ หรือ ลวดลายต่อไปนั้น ได้แก่ 1.1 ใช้ดินสอขาวเหลา มีปลายเรียวแหลมเขียนเส้น ร่างลงบนพื้นที่รัก แต่พอเป็นเค้ารอยรูปภาพ หรือ ลวดลายตามที่คิดจะให้เป็น เรียกว่า “กระทบเส้น”วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมือดี 1.2 ร่างแบบลงบนกระดาษ ขนาดเท่ากับพื้นที่ได้ทำเตรียมขึ้นไว้ แล้วทำเป็นแบบโรยด้วยวิธีเดียว กันกับการทำแบบโรย วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมืออ่อน 2.การระบายสี ใช้สีระบายรูปภาพเล็กน้อยไม่นิยมไล่น้ำหนักสี

3.การเขียน ลงเส้นทอง ที่เป็นรายละเอียดในรูปภาพ ลวดลายให้เป็นรูปภาพ รูปลักษณ์ให้มีความชัดเจน ได้แก่ การเขียนลงเส้นโรยฝุ่นทอง และการเขียนลงเส้นปิดทองคำเปลว

งานประณีตศิลป์ประเภทลายกำมะลอขาดตอนลงไประหว่างสมัยที่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 จนกระทั่งมาถึงสมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชดำริให้ฟื้นฟูขึ้นมา ดังจะได้พรรณนาต่อไปข้างหน้า งานเขียนลายกำมะลอ ที่ได้ทำขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีทั้งงานขนาดย่อมและงานขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากเป็นประณีตศิลป์ที่ทำขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา งานเขียนลายกำมะลอขนาดย่อม ได้แก่ประเภทไม้ประกับหน้าผูกคัมภีร์ หีบไม้ใส่สมุดพระมาลัย เป็นต้น งานเขียนลายกำมะลอมีในงานขนาดใหญ่ แสดงให้เห็นความสำคัญและคุณค่ามาก คืองานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและบานหน้าต่างของโบสถ์ และวิหารในวัดสำคัญตัวอย่างเช่น ลายกำมะลอบนบานประตู และบานหน้าต่าง พระวิหารและศาลาการเปรียญวัดเฉลิมพระเกียรติที่จังหวัดนนทบุรี กระบวนการ เขียนที่นี่มีลักษณะพิเศษตรงที่การใช้สีครามอ่อนอมเขียว ซึ่งเป็นสีที่ไม่เคยปรากฏใช้ในที่แห่งอื่น ๆ สีครามอ่อนอมเขียวเป็นใบไม้บนบานประตูและบานหน้าต่าง ณ สถานที่แห่งนี้ สดใสเป็นพิเศษ เป็นสิ่งแปลกในกระบวนการผสมสีในการเขียนระบายลายกำมะลอเพราะโดยปรกติของการผสมสีฝุ่นกับยางรักสีแต่ละสีจะถูกยางรักกดความสดใสลงถึงครึ่งหนึ่ง ทำให้สีในงานเขียนกำมะลอ ดูหม่นมืดทุกสีแต่ในกรณีสีครามอมเขียวบนบานประตูและบานหน้าต่างพระวิหารกับศาลาการเปรียญที่วัดเฉลิมพระเกียรติ น่าที่จะมีวิธีการผสมสีเป็นพิเศษต่างกว่าที่รู้ ๆ กันในเวลานั้น และน่าจะกล่าวได้ว่าเป็นวิธีการเฉพาะตัวของช่างผู้ทำการเขียนที่นั่นโดยแท้ทั้งนี้ไม่ปรากฏมีงานเขียนลายกำมะลอเขียนสีครามอ่อนอมเขียวได้รับการทำขึ้นในภายหลังแลวิธีการผสมสีให้สดใสก็ยังเป็นความลับมาจนปัจจุบัน งานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและหน้าต่าง ซึ่งได้ทำขึ้นเมื่อรัชกาลที่ 3 ที่มีความสวยงามและเป็นตัวอย่างที่ดีคือ บานประตูและบานหน้าต่างหอไตร วัดโมฬีโลกยาราม ริมคลองบางกอกใหญ่ แต่เป็นเรื่องน่าเสียดายอย่างยิ่งที่ภาพลวดลายเขียนด้วยวิธีกำมะลอส่วนใหญ่หลุดลอกและสีตกจางลงไปมากบางส่วนก็สูญหายและไม่เห็นร่องรอยเดิมเหลืออยู่เลย

ตัวอักษรหัวเรื่อง

การเขียนลายกำมะลอ เป็นงานเขียนวาดเส้น และ ระบายทำเป็นลวดลาย หรือ รูปภาพด้วยวิธีการอย่างโบราณ วิธีหนึ่งที่เขียนเป็นลวดลาย และ เขียนเป็นรูปภาพต่างๆ เขียนระบายด้วยสีหม่นๆ บนพื้น ซึ่งทาด้วยยางรักเป็นสีดำสนิท แสดงเส้นล้อมเป็นขอบรูปภาพ หรือ ลวดลายด้วยเส้นสีทองสดใส เพิ่มความชัดเจน และ น่าสนใจชมขึ้นบนพื้นสีดำ “กำมะลอ” คือ ของที่ทำเทียม มีลักษณะไม่คงทน “กำมะลอ”สำหรับช่างเขียนไทย คือ “งานเขียนสีผสมน้ำรัก” ช่างไทยโบราณถือว่า งาน “ลายกำมะลอ” เกิดจากการนำลาย มาวาดผูกกันให้เกิดเป็นรูปภาพ ดังนั้นคำว่า “ลายกำมะลอ” จึงหมายถึง “ภาพเขียนผูกขึ้น ด้วยลายระบายด้วยสีกำมะลอ ที่มาของลายกำมะลอ ประเทศจีนเป็นต้นกำเนิดของลายกำมะลอ ชาวจีนใช้ลายกำมะลอเขียนตกแต่งเครื่องเรือนชนิดต่างๆเช่น ลับแล ฝาตู้ ฉากพับ เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยลายกำมะลอปรากฏขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย โดยสันนิษฐานว่าพ่อค้าชาวจีนนำเข้ามาโดยบรรทุกเครื่องเรือนมากับเรือสำเภาเข้ามาค้าขายในกรุงศรีอยุธยา คนไทยได้พบเห็นลายกำมะลอ เกิดความพึงพอใจ แต่ไม่สามารถเขียนขึ้นได้เพราะไม่รู้วิธีผสมสีผสมน้ำยา ต่อมาช่างไม้ชาวจีนเข้ามาตั้งรับจ้างต่อเครื่องเรือนขายในกรุงศรีอยุธยา ช่างจีนพวกนี้ได้เขียนลวดลายกำมะลอ คนไทยผ่านมาพบเห็นจึงจดจำและนำไปทำตาม จึงได้มีการเขียนลายกำมะลอที่งดงาม ตกแต่งประดับอยู่ตามฝาตู้ ฝาหีบเป็นจำนวนมากในสมัยอยุธยาตอนปลาย ลักษณะของลายกำมะลอ การระบายสีในลายกำมะลอ เป็นการระบายสีโดย ใช้สีฝุ่นต่าง ๆ ผสมยางรัก ยางรักมีคุณสมบัติยึดสีให้จับติดกับพื้นที่ทาไว้ด้วย ยางรักมีสีดำ สีฝุ่นที่ใช้เมื่อผสมกับยางรักสีดำก็กลายเป็นสีที่หม่นทุกสี สีผสมยางรักนี้เมื่อนำมาเขียนระบายเป็นรูปภาพขึ้นบนพื้นที่ทายาง รักสีดำขึ้นไว้แต่แรกก็จะเป็นรูปภาพ ช่วยให้เด่นเห็นชัดเจนขึ้น ลายกำมะลอที่เขียนขึ้นจะมีเอกลักษณ์เฉพาะเด่นชัดคือ พื้นสีดำ ลวดลายหรือรูปภาพมีสีสันต่าง ๆที่หม่น ส่วนที่เห็นชัดขึ้นมาจากพื้นที่เป็นสีหม่น คือสีทองของเส้นที่แสดงรายละเอียดต่าง ๆ ของลวดลายหรือรูปภาพ ลายกำมะลอ เป็นงานตกแต่งซึ่งทำขึ้นบนบานประตู บานหน้าต่าง ฝาตู้ ฝาหีบ ฉาก ลับแล หน้าใบ ประกับคัมภีร์ แผงข้าง เป็นต้น วิธีการเขียนลายกำมะลอ 1.ร่างแบบ ในงานร่างภาพ หรือ ลวดลาย ขึ้นเป็นแบบลงบนพื้นที่ได้ทารักรองพื้นไว้ เพื่อจะระบายสีลงเป็นรูปภาพ หรือ ลวดลายต่อไปนั้น ได้แก่ 1.1 ใช้ดินสอขาวเหลา มีปลายเรียวแหลมเขียนเส้น ร่างลงบนพื้นที่รัก แต่พอเป็นเค้ารอยรูปภาพ หรือ ลวดลายตามที่คิดจะให้เป็น เรียกว่า “กระทบเส้น”วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมือดี 1.2 ร่างแบบลงบนกระดาษ ขนาดเท่ากับพื้นที่ได้ทำเตรียมขึ้นไว้ แล้วทำเป็นแบบโรยด้วยวิธีเดียว กันกับการทำแบบโรย วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมืออ่อน 2.การระบายสี ใช้สีระบายรูปภาพเล็กน้อยไม่นิยมไล่น้ำหนักสี

3.การเขียน ลงเส้นทอง ที่เป็นรายละเอียดในรูปภาพ ลวดลายให้เป็นรูปภาพ รูปลักษณ์ให้มีความชัดเจน ได้แก่ การเขียนลงเส้นโรยฝุ่นทอง และการเขียนลงเส้นปิดทองคำเปลว

งานประณีตศิลป์ประเภทลายกำมะลอขาดตอนลงไประหว่างสมัยที่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 จนกระทั่งมาถึงสมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชดำริให้ฟื้นฟูขึ้นมา ดังจะได้พรรณนาต่อไปข้างหน้า งานเขียนลายกำมะลอ ที่ได้ทำขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีทั้งงานขนาดย่อมและงานขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากเป็นประณีตศิลป์ที่ทำขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา งานเขียนลายกำมะลอขนาดย่อม ได้แก่ประเภทไม้ประกับหน้าผูกคัมภีร์ หีบไม้ใส่สมุดพระมาลัย เป็นต้น งานเขียนลายกำมะลอมีในงานขนาดใหญ่ แสดงให้เห็นความสำคัญและคุณค่ามาก คืองานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและบานหน้าต่างของโบสถ์ และวิหารในวัดสำคัญตัวอย่างเช่น ลายกำมะลอบนบานประตู และบานหน้าต่าง พระวิหารและศาลาการเปรียญวัดเฉลิมพระเกียรติที่จังหวัดนนทบุรี กระบวนการ เขียนที่นี่มีลักษณะพิเศษตรงที่การใช้สีครามอ่อนอมเขียว ซึ่งเป็นสีที่ไม่เคยปรากฏใช้ในที่แห่งอื่น ๆ สีครามอ่อนอมเขียวเป็นใบไม้บนบานประตูและบานหน้าต่าง ณ สถานที่แห่งนี้ สดใสเป็นพิเศษ เป็นสิ่งแปลกในกระบวนการผสมสีในการเขียนระบายลายกำมะลอเพราะโดยปรกติของการผสมสีฝุ่นกับยางรักสีแต่ละสีจะถูกยางรักกดความสดใสลงถึงครึ่งหนึ่ง ทำให้สีในงานเขียนกำมะลอ ดูหม่นมืดทุกสีแต่ในกรณีสีครามอมเขียวบนบานประตูและบานหน้าต่างพระวิหารกับศาลาการเปรียญที่วัดเฉลิมพระเกียรติ น่าที่จะมีวิธีการผสมสีเป็นพิเศษต่างกว่าที่รู้ ๆ กันในเวลานั้น และน่าจะกล่าวได้ว่าเป็นวิธีการเฉพาะตัวของช่างผู้ทำการเขียนที่นั่นโดยแท้ทั้งนี้ไม่ปรากฏมีงานเขียนลายกำมะลอเขียนสีครามอ่อนอมเขียวได้รับการทำขึ้นในภายหลังแลวิธีการผสมสีให้สดใสก็ยังเป็นความลับมาจนปัจจุบัน งานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและหน้าต่าง ซึ่งได้ทำขึ้นเมื่อรัชกาลที่ 3 ที่มีความสวยงามและเป็นตัวอย่างที่ดีคือ บานประตูและบานหน้าต่างหอไตร วัดโมฬีโลกยาราม ริมคลองบางกอกใหญ่ แต่เป็นเรื่องน่าเสียดายอย่างยิ่งที่ภาพลวดลายเขียนด้วยวิธีกำมะลอส่วนใหญ่หลุดลอกและสีตกจางลงไปมากบางส่วนก็สูญหายและไม่เห็นร่องรอยเดิมเหลืออยู่เลย

สืบสานความเป็นมาของศิลปินไทย

ช่างไทยสมัยโบราณมักจะเขียนภาพ โดยไม่บอกนามให้ปรากฏ การสืบค้น ศิลปินไทยที่เป็นครูช่างจึงยาก ลำบาก เท่าที่บอกเล่าจากปากต่อปากพอ จะจำกล่าวขานได้บ้างก็คือ ครู คงแป๊ะกับครูทองอยู่ที่เขียนภาพ ไทยอย่างวิจิตรภายในพระอุโบสถวัด สุวรรณาราม บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร ก่อน หน้าครูทั้งสองคิดว่าช่างไทย เขียนด้วย ความศรัทธาทางศาสนา อุทิศเวลาความสามารถ เพื่อผลกรรมดีของตนที่สร้าง ไว้เพื่อบุญในภพหน้า ถึงแม้จะเขียน ในที่เล็ก ๆ แคบ ๆ มืด ๆ โดยใช้คบไฟส่องเขียน ก็ยังอดทนพยายามอุทิศเวลาเขียน ได้จนสำเร็จ เช่น ภายในกรุ พระปรางค์ พระเจดีย์ ในโบสถ์และวิหารขนาดเล็ก เป็นต้น

สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วัติวงศ์ ขณะพระองค์ยังทรงพระเยาว์ ชอบ เดินดูภาพเขียนเรื่องรามเกียรติ์ที่ผนังระเบียง คดวัดพระแก้ว เมื่อกลับถึงพระตำหนัก ก็ทรงใช้ดินสอขาวเขียนภาพที่ ทรงจำได้เหล่านั้น มาเขียนไว้บน บานตู้ไม้ และครั้งหนึ่งพระองค์ยังทรง พระเยาว์เช่นกัน ได้ตามเสด็จประพาสต้น ของพระปิยะมหาราชไปยังหัวเมือง ต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด และเมื่อเสด็จไปถึงจังหวัด กาญจนบุรี ครั้งนั้นคงเป็นป่าที่สมบูรณ์ มี พันธุ์ไม้ มีสัตว์ป่าชุกชุม มีธรรมชาติสวย งาม ณ น้ำตกบริเวณพลับพลาที่พัก ใกล้น้ำตกไทรโยคนั้นเป็นที่รับแรง บันดาลใจจากธรรมชาติที่ร่มรื่น น้ำ ตกที่ไหลลงกระแทกกับโขดผาด้าน ล่าง เสียงร้องของสัตว์นานาชนิด ๆ ไม่ว่าจะ เป็นนกยูงหรือสัตว์อื่น ๆ ผสมผสานกับแรง ของน้ำตกและธรรมชาติงาม ทำให้ พระองค์ท่าน แต่งเพลงเขมรไทรโยคขึ้น สำเร็จ เป็นเพลงไทยที่มีเนื้อร้อง ทำนอง จังหวะลีลา ขับร้องฟังแล้วกินใจประทับใจ มิรู้ ลืมจนกลายเป็นเพลงไทยอมตะมาจน ถึงปัจจุบัน ต่อมาเมื่อพระองค์เจริญพระชันษา พระองค์ก็ยังทรงใฝ่หาความรู้ ลักษณะเช่นนี้ตลอดมาจนมีฝีมือ สูงส่งระดับอัจฉริยะ พระองค์ได้คิดออก แบบพระอุโบสถวัดเบญจม-บพิธ โดยนำเอาศิลปะ ไทยเข้าประยุกต์กับปัจจุบันโดยมีหิน อ่อน กระจกสีและกระเบื้องเคลือบผสมผสานอย่าง งามลงตัวจนโครงสร้างพระอุโบสถ หลังนี้เป็นที่แปลกตาแปลกใจสวย งามอย่างมหัศจรรย์ ปัจจุบันเป็นที่ยกย่องว่า เป็นสมเด็จครูแห่งการช่างไทย บรรดาช่างไทยต่อมาได้คิดเพียร พยายามสร้างตำราเกี่ยวกับลายไทยฉบับ สำคัญ ๆ ที่ยึดถือในปัจจุบันขอกล่าวไว้สั้น ๆ ดังต่อไปนี้

  1. พระเทวาภินิมมิต เขียน "สมุดตำราลาย ไทย"
  2. ช่วง เสลานนท์ เขียน "ศิลปไทย"
  3. พระพรหมพิจิตร เขียน "พุทธศิลปสถาปัตยกรรมภาคต้น"
  4. โพธิ์ ใจอ่อนน้อม เขียน "คู่มือลายไทย"
  5. คณะช่างจำกัด เขียน "ตำราภาพลายไทย"
  6. เลิศ พ่วงพระเดช เขียน "ตำราสถาปัตยกรรมและลาย ไทย"

ดูเพิ่ม

อ้างอิง