ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เรือบรรทุกอากาศยาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 14: บรรทัด 14:




[[ไฟล์:Japanese aircraft carrier Hōshō Tokyo Bay.jpg|thumb|left|ภาพถ่ายจากอากาศของ[[กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น]]ที่แสดงให้เห็น[[เรือบรรทุกอากาศยานเฮาเชา]]ที่เสร็จสมบูรณ์ในเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2465]]
[[ไฟล์:Japanese aircraft carrier Hōshō Tokyo Bay.jpg|thumb|left|Aerial view of [[Imperial Japanese Navy|IJN]] ''[[Japanese aircraft carrier Hōshō|Hōshō]]'' as completed in December 1922.]]
การพัฒนาเรือดาดฟ้าเรียบทำให้เกิดเรือขนาดใหญ่ลำแรกๆ ขึ้น ในปีพ.ศ. 2461 เรือ[[เอชเอ็มเอส อาร์กัส (ไอ49)|เอชเอ็มเอส ''อาร์กัส'']]ได้กลายเป็นเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกของโลกที่สามารถนำเครื่องบินขึ้นและลงจอดได้<ref>Geoffrey Till, "Adopting the Aircraft Carrier: The British, Japanese, and American Case Studies" in {{cite book |title= Military Innovation in the Interwar Period|edition=|editor1-first= Williamson|editor1-last= Murray|editor2-first= Allan R|editor2-last= Millet |year= 1996|publisher=Cambridge University Press|location= New York|isbn= 0-521-63760-0|page= 194}}</ref> เมื่อถึงช่วงกลางทศวรรษที่ 2463 การปฏิวัติเรือบรรทุกแบบต่างๆ ก็เป็นไปได้ด้วยดี ส่งผลให้เกิดเรืออย่าง [[เรือบรรทุกอากาศยานเฮาเชา|เรือเฮาเชา]] (พ.ศ. 2465) [[เอชเอ็มเอส เฮอร์เมส (95)|เอชเอ็มเอส เฮอร์เมส]] (พ.ศ. 2467) และ[[เรือบรรทุกอากาศยานเบียน|เรือเบียน]] (พ.ศ. 2470) เรอืบรรทุกอากาศยานลำแรกๆ นั้นเป็นเรือที่ดัดแปลงมาจากเรือหลายแบบ เช่น เรือบรรทุก เรือลาดตระเวน เรือลาดตระเวนประจัญบาน หรือเรือประจัญบาน [[สนธิสัญญาวอชิงตัน]]ในปีพ.ศ. 2465 มีผลต่อการสร้างเรือบรรทุก สหรัฐและราชอาณาจักรได้รับอนุญาตให้สร้างเรือบรรทุกที่มีขนาดใหญ่ได้ถึง 135,000 ตัน ในขณะที่ Most early aircraft carriers were conversions of ships that were laid down (or had served) as different ship types: cargo ships, cruisers, battlecruisers, or battleships. The [[Washington Naval Treaty]] of 1922 affected aircraft carrier plans. The U.S. and UK were permitted up to 135,000 tons of carriers each, while specific exemptions on the upper tonnage of individual ships permitted conversion of capital ship hulls to carriers such as the {{Sclass|Lexington|aircraft carrier|1}}s (1927).
การพัฒนาเรือดาดฟ้าเรียบทำให้เกิดเรือขนาดใหญ่ลำแรกๆ ขึ้น ในปีพ.ศ. 2461 เรือ[[เอชเอ็มเอส อาร์กัส (ไอ49)|เอชเอ็มเอส ''อาร์กัส'']]ได้กลายเป็นเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกของโลกที่สามารถนำเครื่องบินขึ้นและลงจอดได้<ref>Geoffrey Till, "Adopting the Aircraft Carrier: The British, Japanese, and American Case Studies" in {{cite book |title= Military Innovation in the Interwar Period|edition=|editor1-first= Williamson|editor1-last= Murray|editor2-first= Allan R|editor2-last= Millet |year= 1996|publisher=Cambridge University Press|location= New York|isbn= 0-521-63760-0|page= 194}}</ref> เมื่อถึงช่วงกลางทศวรรษที่ 2463 การปฏิวัติเรือบรรทุกแบบต่างๆ ก็เป็นไปได้ด้วยดี ส่งผลให้เกิดเรืออย่าง [[เรือบรรทุกอากาศยานเฮาเชา|เรือเฮาเชา]] (พ.ศ. 2465) [[เอชเอ็มเอส เฮอร์เมส (95)|เอชเอ็มเอส เฮอร์เมส]] (พ.ศ. 2467) และ[[เรือบรรทุกอากาศยานเบียน|เรือเบียน]] (พ.ศ. 2470) เรอืบรรทุกอากาศยานลำแรกๆ นั้นเป็นเรือที่ดัดแปลงมาจากเรือหลายแบบ เช่น เรือบรรทุก เรือลาดตระเวน เรือลาดตระเวนประจัญบาน หรือเรือประจัญบาน [[สนธิสัญญาวอชิงตัน]]ในปีพ.ศ. 2465 มีผลต่อการสร้างเรือบรรทุก สหรัฐและราชอาณาจักรได้รับอนุญาตให้สร้างเรือบรรทุกที่มีขนาดใหญ่ได้ถึง 135,000 ตัน ในขณะที่บางกรณีที่มีข้อยกเว้นให้สามารถดัดแปลงเรือหลักขนาดใหญ่กว่าให้เป็นเรือบรรทุกได้ เช่น [[เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเลกซิงตัน]] (พ.. 2470)


[[ไฟล์:Attack on carrier USS Franklin 19 March 1945.jpg|thumb|left|Attack on carrier {{USS|Franklin|CV-13|6}}, 19 March 1945. The casualties included 724 killed.]]
[[ไฟล์:Attack on carrier USS Franklin 19 March 1945.jpg|thumb|left|การเข้าโจมตีเรือ[[ยูเอสเอส แฟรงคลิน (ซีวี-13)|[[ยูเอสเอส แฟรงคลิน]]เมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2488 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 742 คน]]


ในช่วงทศวรรษที่ 2456 กองทัพเรือมากมายเริ่มสั่งซื้อและสร้างเรือบรรทุกอากาศยานที่ทำการออกแบบเป็นพิเศษ นี่ทำให้การออกแบบนั้นตอบรับกับบทบาทในอนาคตและทำให้เกิดเรือที่ทรงอานุภาพ ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เรือเหล่านี้ได้กลายมาเป็นกำลังสำคัญของกองเรือสหรัฐ อังกฤษ และญี่ปุ่น โดยเรียกเรือเหล่านี้ว่า [[กองเรือบรรทุกอากาศยาน]]
ในช่วงทศวรรษที่ 2456 กองทัพเรือมากมายเริ่มสั่งซื้อและสร้างเรือบรรทุกอากาศยานที่ทำการออกแบบเป็นพิเศษ นี่ทำให้การออกแบบนั้นตอบรับกับบทบาทในอนาคตและทำให้เกิดเรือที่ทรงอานุภาพ ใน[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] เรือเหล่านี้ได้กลายมาเป็นกำลังสำคัญของกองเรือสหรัฐ อังกฤษ และญี่ปุ่น โดยเรียกเรือเหล่านี้ว่า [[กองเรือบรรทุกอากาศยาน]]


เรือบรรทุกอากาศยานถูกใช้อย่างหนักในสงครามโลกครั้งที่สองและมีแบบที่หลากหลายตามมา [[เรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกัน]] เช่น [[ยูเอสเอส โบก (ซีวีอี-9)|ยูเอสเอส โบก]]ถูกสร้างขึ้นแต่ตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ว่าเรือบางลำจะถูกสร้างมาเพื่อจุดประสงค์นั้นๆ แต่เรือส่วนมากเป็นเรือดัดแปลงจากเรือสินค้าเพราะว่าเป็นเรือที่มีระยะหยุดเหมาะที่จะให้การสนับสนุนทางอากาศแก่ขบวนเรือและการรุกสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก [[เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเบา]]ที่สร้างขึ้นโดยสหรัฐ เช่น [[ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์ (ซีวีแอล-22)|ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์]]เป็นเรือที่นำแนวคิดเรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกันมาทำเป็นเรือที่ใหญ่ขึ้นและมีศักยภาพทางทหารมากขึ้น แม้ว่าเรือบรรทุกขนาดเบามักจะบรรทุกกองบินที่มีขนาดเท่ากับกองบินบนเรือบรรทุกคุ้มกัน แต่เรือบรทุกขนาดเบามีความได้เปรียบด้วยความเร็วที่เหนือกว่าเพราะเรือเหล่านี้ถูกดัดแปลงมาจากเรือครุยเซอร์
เรือบรรทุกอากาศยานถูกใช้อย่างหนักในสงครามโลกครั้งที่สองและมีแบบที่หลากหลายตามมา [[เรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกัน]] เช่น [[ยูเอสเอส โบก (ซีวีอี-9)|ยูเอสเอส โบก]]ถูกสร้างขึ้นแต่ตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ว่าเรือบางลำจะถูกสร้างมาเพื่อจุดประสงค์นั้นๆ แต่เรือส่วนมากเป็นเรือดัดแปลงจากเรือสินค้าเพราะว่าเป็นเรือที่มีระยะหยุดเหมาะที่จะให้การสนับสนุนทางอากาศแก่ขบวนเรือและการรุกสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก [[เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเบา]]ที่สร้างขึ้นโดยสหรัฐ เช่น [[ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์ (ซีวีแอล-22)|ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์]]เป็นเรือที่นำแนวคิดเรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกันมาทำเป็นเรือที่ใหญ่ขึ้นและมีศักยภาพทางทหารมากขึ้น แม้ว่าเรือบรรทุกขนาดเบามักจะบรรทุกกองบินที่มีขนาดเท่ากับกองบินบนเรือบรรทุกคุ้มกัน แต่เรือบรทุกขนาดเบามีความได้เปรียบด้วยความเร็วที่เหนือกว่าเพราะเรือเหล่านี้ถูกดัดแปลงมาจากเรือครุยเซอร์

== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 11:54, 11 กรกฎาคม 2556

เรือหลวงจักรีนฤเบศร

เรือบรรทุกอากาศยาน หรือ เรือบรรทุกเครื่องบิน (อังกฤษ: aircraft carrier) คือ เรือรบที่ออกแบบมาสำหรับใช้เป็นฐานทัพอากาศเคลื่อนที่ให้กับอากาศยาน เรือบรรทุกเครื่องบินนั้นทำให้กองทัพเรือสามารถส่งกำลังทางอากาศออกไปได้ไกลยิ่งขึ้นโดยขึ้นอยู่กับที่มั่นของเรือบรรทุกเครื่องบิน พวกมันพัฒนามาจากเรือที่สร้างจากไม้ที่ถูกใช้เพื่อปล่อยบัลลูนมาเป็นเรือรบพลังนิวเคลียร์ซึ่งสามารถบรรทุกอากาศยานปีกนิ่งและปีกหมุนได้หลายสิบลำ

โดยปกเรือบรรทุกอากาศยานจะเป็นเรือหลักของกองเรือและเป็นเรือที่มีราคาแพงอย่างมาก มี 10 ประเทศที่ครอบครองเรือบรรทุกอากาศยานโดยแปดประเทศมีเรือบรรทุกอากาศยานเพียงลำเดียวเท่านั้น ทั่วโลกมีเรือบรรทุกอากาศยานที่กำลังทำหน้าที่ 20 ลำโดยเป็นของสหรัฐเสีย 10 ลำ บางประเทศในจำนวนนี้ไม่มีเครื่องบินที่สามารถใช้กับเรือบรรทุกอากาศยานและบางประเทศได้เปล่ยนวัตถุประสงค์ของเรือไป[1]

ประวัติ

การทดลองของแซมวลเอล แลงลีย์ที่พยายามใช้เครื่องดีดส่งคนพร้อมเครื่องจักรออกจากเรือบ้านเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2447 ซึ่งล้มเหลว ความคิดของเขาในการพยายามส่งเครื่องบินจากเรือและการใช้เครื่องดีดเป็นตัวส่งนั้นนับเป็นความคิดที่จะสำเร็จในอนาคต
เรือบรรทุกเครื่องบินทะเลวากะมิยะของญี่ปุ่นซึ่งทำการโจมตีด้วยเครื่องบินจากเรือเป็นลำแลกของโลกเมื่อปีพ.ศ. 2457

ไม่นานหลังจากที่มีการสร้างอากศยานที่มีน้ำหนักมากกว่าอากาศขึ้นมาในปีพ.ศ. 2443 สหรัฐก็ได้ทำการทดลองใช้อากาศยานแบบดังกล่าวทำการบินขึ้นจากดาดฟ้าเรือในปีพ.ศ. 2453 และตามมาด้วยการทดสอบการลงจอดในปีพ.ศ. 2454 ในวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 เครื่องบินลำแรกที่ทำการบินขึ้นจากดาดฟ้าเรือสำเร็จได้ทำการบินจากเรือเอชเอ็มเอส ฮิเบอร์นาของราชนาวีอังกฤษ

ต่อมาในเดือนกันยายน พ.ศ. 2457 ก็เกิดเรือบรรทุกเครื่องบินทะเลลำแรกขึ้นคือ เรือบรรทุกเครื่องบินทะเลวากะมิยะของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ซึ่งเป็นเรือลำแรกของโลกที่ประสบความสำเร็จในการเข้าโจมตีด้วยเครื่องบินจากทะเล[2][3] เรือลำดังกล่าวได้ต่อสู้กับเยอรมนีในสงครามโลกครั้งที่ 1 โดยบรรทุกเครื่องบินมัวริซ ฟาร์แมนสี่ลำ ซึ่งจะนำขึ้นลงดาดฟ้าเรือด้วยเครนยก ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2457 เครื่องบินมัวริซ ฟาร์แมนลำหนึ่งได้ทำการบินจากเรือวากะมิยะและเข้าโจมตีเรือลาดตระเวนไคเซอร์ริน อลิซาเบธของออสเตรียฮังการีและเรือปืนจากัวร์ของเยอรมนี แต่กลับพลาดเป้าทั้งสอง[4][5]


ภาพถ่ายจากอากาศของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่นที่แสดงให้เห็นเรือบรรทุกอากาศยานเฮาเชาที่เสร็จสมบูรณ์ในเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2465

การพัฒนาเรือดาดฟ้าเรียบทำให้เกิดเรือขนาดใหญ่ลำแรกๆ ขึ้น ในปีพ.ศ. 2461 เรือเอชเอ็มเอส อาร์กัสได้กลายเป็นเรือบรรทุกอากาศยานลำแรกของโลกที่สามารถนำเครื่องบินขึ้นและลงจอดได้[6] เมื่อถึงช่วงกลางทศวรรษที่ 2463 การปฏิวัติเรือบรรทุกแบบต่างๆ ก็เป็นไปได้ด้วยดี ส่งผลให้เกิดเรืออย่าง เรือเฮาเชา (พ.ศ. 2465) เอชเอ็มเอส เฮอร์เมส (พ.ศ. 2467) และเรือเบียน (พ.ศ. 2470) เรอืบรรทุกอากาศยานลำแรกๆ นั้นเป็นเรือที่ดัดแปลงมาจากเรือหลายแบบ เช่น เรือบรรทุก เรือลาดตระเวน เรือลาดตระเวนประจัญบาน หรือเรือประจัญบาน สนธิสัญญาวอชิงตันในปีพ.ศ. 2465 มีผลต่อการสร้างเรือบรรทุก สหรัฐและราชอาณาจักรได้รับอนุญาตให้สร้างเรือบรรทุกที่มีขนาดใหญ่ได้ถึง 135,000 ตัน ในขณะที่บางกรณีที่มีข้อยกเว้นให้สามารถดัดแปลงเรือหลักขนาดใหญ่กว่าให้เป็นเรือบรรทุกได้ เช่น เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเลกซิงตัน (พ.ศ. 2470)

[[ไฟล์:Attack on carrier USS Franklin 19 March 1945.jpg|thumb|left|การเข้าโจมตีเรือ[[ยูเอสเอส แฟรงคลิน (ซีวี-13)|ยูเอสเอส แฟรงคลินเมื่อวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2488 ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต 742 คน]]

ในช่วงทศวรรษที่ 2456 กองทัพเรือมากมายเริ่มสั่งซื้อและสร้างเรือบรรทุกอากาศยานที่ทำการออกแบบเป็นพิเศษ นี่ทำให้การออกแบบนั้นตอบรับกับบทบาทในอนาคตและทำให้เกิดเรือที่ทรงอานุภาพ ในสงครามโลกครั้งที่ 2 เรือเหล่านี้ได้กลายมาเป็นกำลังสำคัญของกองเรือสหรัฐ อังกฤษ และญี่ปุ่น โดยเรียกเรือเหล่านี้ว่า กองเรือบรรทุกอากาศยาน

เรือบรรทุกอากาศยานถูกใช้อย่างหนักในสงครามโลกครั้งที่สองและมีแบบที่หลากหลายตามมา เรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกัน เช่น ยูเอสเอส โบกถูกสร้างขึ้นแต่ตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้ว่าเรือบางลำจะถูกสร้างมาเพื่อจุดประสงค์นั้นๆ แต่เรือส่วนมากเป็นเรือดัดแปลงจากเรือสินค้าเพราะว่าเป็นเรือที่มีระยะหยุดเหมาะที่จะให้การสนับสนุนทางอากาศแก่ขบวนเรือและการรุกสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบก เรือบรรทุกอากาศยานขนาดเบาที่สร้างขึ้นโดยสหรัฐ เช่น ยูเอสเอส อินดีเพนเดนซ์เป็นเรือที่นำแนวคิดเรือบรรทุกอากาศยานคุ้มกันมาทำเป็นเรือที่ใหญ่ขึ้นและมีศักยภาพทางทหารมากขึ้น แม้ว่าเรือบรรทุกขนาดเบามักจะบรรทุกกองบินที่มีขนาดเท่ากับกองบินบนเรือบรรทุกคุ้มกัน แต่เรือบรทุกขนาดเบามีความได้เปรียบด้วยความเร็วที่เหนือกว่าเพราะเรือเหล่านี้ถูกดัดแปลงมาจากเรือครุยเซอร์

อ้างอิง

  1. "China aircraft carrier confirmed by general". BBC News. 8 June 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 June 2011. สืบค้นเมื่อ 9 June 2011. {{cite news}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  2. Wakamiya is "credited with conducting the first successful carrier air raid in history"Source:GlobalSecurity.org
  3. "Sabre et pinceau", Christian Polak, p. 92.
  4. Donko, Wilhelm M.: Österreichs Kriegsmarine in Fernost: Alle Fahrten von Schiffen der k.(u.)k. Kriegsmarine nach Ostasien, Australien und Ozeanien von 1820 bis 1914. epubli, Berlin, (2013) - Page 4, 156-162, 427.
  5. "IJN Wakamiya Aircraft Carrier". globalsecurity.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2011. สืบค้นเมื่อ 9 June 2011. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |deadurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|url-status=) (help)
  6. Geoffrey Till, "Adopting the Aircraft Carrier: The British, Japanese, and American Case Studies" in Murray, Williamson; Millet, Allan R, บ.ก. (1996). Military Innovation in the Interwar Period. New York: Cambridge University Press. p. 194. ISBN 0-521-63760-0.
บรรณานุกรม
  • aircraft carrier", The American Heritage Dictionary of the English Language, 4th Edition, 2000
  • aircraft carrier", พจนานุกรมศัพท์ทหาร, กรมยุทธศึกษาทหาร


แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA