ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กะเพราควาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 22: บรรทัด 22:
== สรรพคุณทางยา ==
== สรรพคุณทางยา ==
อาหารไทยใช้ยี่หร่าในการปรุงแต่งกลิ่นอาหาร โดยคั่วเมล็ดโขลกผสมกับเครื่องแกง เช่นแกงกะหรี่ แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน ส่วนต้นและรากตากให้แห้ง ช่วยย่อย ยาขับลม แก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ
อาหารไทยใช้ยี่หร่าในการปรุงแต่งกลิ่นอาหาร โดยคั่วเมล็ดโขลกผสมกับเครื่องแกง เช่นแกงกะหรี่ แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน ส่วนต้นและรากตากให้แห้ง ช่วยย่อย ยาขับลม แก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ

สารสกัดด้วยเอทานอลจากผลและเมล็ดยับยั้งการเจริญและการงอกของถั่วเขียวผิวดำได้<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2554. ผลของแอลลีโลพาธีของพืชสมุนไพร 6 ชนิดต่อการงอกและการเจริญเติบโตของถั่วเขียวผิวดำ. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49 1-4 ก.พ. 2554 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน้า 419-428</ref>


== แหล่งเพาะปลูกยี่หร่าเชิงการค้า ==
== แหล่งเพาะปลูกยี่หร่าเชิงการค้า ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 23:08, 3 กรกฎาคม 2556

สำหรับยี่หร่า ที่เป็นเครื่องเทศไทยอีสาน ดูที่ผักชีล้อม

ยี่หร่า
ไฟล์:Yeera2.jpg
ยี่หร่า (Ocimum Gratissimum)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Lamiales
วงศ์: Lamiaceae
สกุล: Ocimum
สปีชีส์: O.  gratissimum
ชื่อทวินาม
Ocimum gratissimum

ยี่หร่า (Tree Basil) (ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum gratissimum) เป็นญาติห่างๆกับพืชตระกูลกะเพราอื่นๆ มีนามสกุลเดียวกัน (Ocimum) ชื่อในภาษาอังกฤษค่อนข้างจะแปลกไปเล็กน้อย คือชื่อไม่ได้มาจากรส เหมือนโหระพาหรือแมงลัก แต่ชื่อของมันคือ Tree Basil หรือเรียกตามถิ่นว่า Indian Tree Basil ในสายพันธุ์อินเดีย และ South-East Asian Tree Basil ในสายพันธุ์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สายพันธุ์

ในประเทศไทยแล้ว ก็คงเรียกชื่อโดยตรงว่ายี่หร่า โดยไม่ได้แบ่งแยกพันธุ์อะไร เพราะเนื่องจากไม่ใช่พืชเศรษฐกิจ หรือพืชสำคัญ จึงยังไม่ได้รับความสนใจในการปรับปรุงพันธุ์

สรรพคุณทางยา

อาหารไทยใช้ยี่หร่าในการปรุงแต่งกลิ่นอาหาร โดยคั่วเมล็ดโขลกผสมกับเครื่องแกง เช่นแกงกะหรี่ แกงเผ็ด แกงเขียวหวาน ส่วนต้นและรากตากให้แห้ง ช่วยย่อย ยาขับลม แก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ

สารสกัดด้วยเอทานอลจากผลและเมล็ดยับยั้งการเจริญและการงอกของถั่วเขียวผิวดำได้[1]

แหล่งเพาะปลูกยี่หร่าเชิงการค้า

ยี่หร่าเป็นพืชที่หลายคนไม่ค่อยให้ความสนใจมากนัก จึงมีแหล่งปลูกทั่วประเทศเพียง 18 ไร่เท่านั้น แต่ยังให้ผลผลิตสูงถึงราว 24 ตันต่อปี

จังหวัด อำเภอ พื้นที่ปลูก
(ไร่)
ผลผลิตสูงสุด
(กิโลกรัม/ไร่)
ฤดูการเก็บเกี่ยว ราคาเฉลี่ย
(บาท/กิโลกรัม)
นครนายก อ.เมือง 1 900 ตลอดทั้งปี 10
สุรินทร์ อ.ปราสาท 2 400 ตลอดทั้งปี 10
อ.สนม 1 400 ตลอดทั้งปี 10
อุดรธานี อ.กุมภวาปี 1 60 ตลอดทั้งปี 10
มหาสารคาม อ.นาเชือก 0.5 430 ตลอดทั้งปี 10
อุบลราชธานี อ.เหล่าเสือโก้ก 1 100 ตลอดทั้งปี 10
บุรีรัมย์ อ.เฉลิมพระเกียรติ 6 2,700 ตลอดทั้งปี 5
อ.โนนสุวรรณ 0.5 200 ตลอดทั้งปี 15
สุราษฎร์ธานี อ.พนม 0.25 15 ตลอดทั้งปี 15
ปัตตานี อ.โคกโพธิ์ 1 1,800 ตลอดทั้งปี 30
อ.มายอ 2 1,200 ตลอดทั้งปี 15
แม่ฮ่องสอน อ.ขุนยวม 2 700 ตลอดทั้งปี 15
รวมพื้นที่ปลูก 18.25 ไร่
ผลผลิต 24378.75 กิโลกรัม/ปี



อ้างอิง

  • วีระศักดิ์ พักตรานวลหง. พืชผักตระกูลกะเพรา . กรุงเทพมหานคร . คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. ตุลาคม 2549
  • บัญชีแนบท้ายประกาศกรมวิชาการเกษตร เรื่อง ทะเบียนพันธุ์พืชในประเทศไทย
  • แหล่งผลิตผักพื้นบ้านเชิงการค้า พ.ศ. 2545 กรมวิชาการเกษตร
  • สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล www.medplant.mahidol.ac.th
  • โครงการสำนึกรักบ้านเกิด www.rakbankerd.com
  • กรมส่งเสริมการส่งออก www.depthai.go.th
  • กรมส่งเสริมการเกษตร www.doae.go.th
  • Gernot Katzer’s Spice Pages www.uni-graz.at/%7Ekatzer/engl/index.html

แหล่งข้อมูลอื่น

  1. ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2554. ผลของแอลลีโลพาธีของพืชสมุนไพร 6 ชนิดต่อการงอกและการเจริญเติบโตของถั่วเขียวผิวดำ. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 49 1-4 ก.พ. 2554 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน้า 419-428