ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มหาวิทยาลัยปารีส"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Sorbonne DSC09369.jpg|thumb|250px|ตึกวิทยาลัยซอร์บอนน์ ของมหาวิทยาลัยปารีส ในฝรั่งเศส]]
[[ไฟล์:Sorbonne DSC09369.jpg|thumb|250px|ตึกวิทยาลัยซอร์บอนน์ ของมหาวิทยาลัยปารีส ในฝรั่งเศส]]


'''มหาวิทยาลัยปารีส''' ([[ภาษาฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]: Université de Paris ; [[ภาษาอังกฤษ|อังกฤษ]]: University of Paris) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสองในโลก รองจาก[[มหาวิทยาลัยโบโลญญา]]ใน[[ประเทศอิตาลี]] หลังจากก่อตั้งขึ้นมาเมื่อคราวสมัยกลางของยุโรป กล่าวคือ[[คริสต์ศตวรรษที่ 12]] มหาวิทยาลัยปารีสก็มีชื่อเสียงและนักศึกษามากกว่ามหาวิทยาลัยโบโลญย่าเสียอีก แม้แต่ชาวอังกฤษก็ต้องไปเรียนที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมากษัตริย์อังกฤษและฝรั่งเศสทรงทะเลาะกัน กษัตริย์อังกฤษจึงห้ามมิให้ชาวอังกฤษไปเรียนที่ฝรั่งเศสอีก และได้พากันมารวมตัวก่อตั้ง [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] ขึ้นเป็นแห่งแรกในอังกฤษ
'''มหาวิทยาลัยปารีส''' ({{lang-fr|Université de Paris}}) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสองของโลก รองจาก[[มหาวิทยาลัยโบโลญญา]]ใน[[ประเทศอิตาลี]] หลังจากก่อตั้งขึ้นมาเมื่อ[[คริสต์ศตวรรษที่ 12]] มหาวิทยาลัยปารีสก็มีชื่อเสียงและนักศึกษามากกว่ามหาวิทยาลัยโบโลญย่าเสียอีก แม้แต่ชาวอังกฤษก็ต้องไปเรียนที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมากษัตริย์อังกฤษและฝรั่งเศสทรงทะเลาะกัน กษัตริย์อังกฤษจึงห้ามมิให้ชาวอังกฤษไปเรียนที่ฝรั่งเศสอีก และได้พากันมารวมตัวก่อตั้ง [[มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด]] ขึ้นเป็นแห่งแรกในอังกฤษ


ข้อแตกต่างอย่างสำคัญระหว่าง มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดและ[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] หรือเรียกรวมๆ ว่า 'ระบบ [[อ๊อกซบริดจ์]]' กับมหาวิทยาลัยปารีสในอดีต ก็คือระบบอ๊อกซบริดจ์จะเน้นประสิทธิภาพสูงสุดในการสอนโดยใช้ระบบติวเตอร์พร้อมๆ กับการวิจัย ทั้งสองอย่างนี้กระทำในเวลาเดียวกัน ระบบนี้ทำให้ครูอาจารย์ใกล้ชิดนักศึกษามากเป็นพิเศษ แต่มหาวิทยาลัยปารีส เน้นหนักด้านการทำวิจัยมากกว่า มีลักษณะการจัดระบบการเรียนการสอนคล้ายๆ [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]ในประเทศไทย กล่าวคือใครมีวุฒิการศึกษาระดับม.ปลายที่ได้รับการยอมรับก็สมัครเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยปารีสได้ทั้งนั้น ครูอาจารย์จะเอาเวลาส่วนใหญ่ไปทำการค้นคว้าวิจัย ดังนั้น จึงมีเวลาคุยกับนักศึกษาน้อยมาก
ข้อแตกต่างอย่างสำคัญระหว่าง มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดและ[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์]] หรือเรียกรวมๆ ว่า 'ระบบ [[อ๊อกซบริดจ์]]' กับมหาวิทยาลัยปารีสในอดีต ก็คือระบบอ๊อกซบริดจ์จะเน้นประสิทธิภาพสูงสุดในการสอนโดยใช้ระบบติวเตอร์พร้อมๆ กับการวิจัย ทั้งสองอย่างนี้กระทำในเวลาเดียวกัน ระบบนี้ทำให้ครูอาจารย์ใกล้ชิดนักศึกษามากเป็นพิเศษ แต่มหาวิทยาลัยปารีส เน้นหนักด้านการทำวิจัยมากกว่า กล่าวคือใครมีวุฒิการศึกษาระดับม.ปลายที่ได้รับการยอมรับก็สมัครเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยปารีสได้ทั้งนั้น ครูอาจารย์จะเอาเวลาส่วนใหญ่ไปทำการค้นคว้าวิจัย ดังนั้น จึงมีเวลาคุยกับนักศึกษาน้อยมาก


ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยปารีสนั้น ได้รับความสนใจจากบรรดานักศึกษาจากทั่วทุกมุมโลก อาจเนื่องมาจากมีค่าเล่าเรียนที่ไม่แพงนัก เมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ภาวะการแข่งขันเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปารีสจึงมีอัตราค่อนข้างสูง และโดยปกติแล้ว นักศึกษาที่จะเข้าเรียนต้องยื่นผลสอบวัดระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสในขั้นสูง
ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยปารีสนั้น ได้รับความสนใจจากบรรดานักศึกษาจากทั่วทุกมุมโลก อาจเนื่องมาจากมีค่าเล่าเรียนที่ไม่แพงนัก เมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ภาวะการแข่งขันเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปารีสจึงมีอัตราค่อนข้างสูง และโดยปกติแล้ว นักศึกษาที่จะเข้าเรียนต้องยื่นผลสอบวัดระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสในขั้นสูง
บรรทัด 10: บรรทัด 10:
ดังนั้น เมื่อกอร์แมน (Gourman's Report) ได้พยายามสำรวจผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยปารีสมีผลงานวิจัยผลิตมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของโลก รองลงมาคือ [[มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท]] ของ [[ประเทศรัสเซีย]]
ดังนั้น เมื่อกอร์แมน (Gourman's Report) ได้พยายามสำรวจผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยปารีสมีผลงานวิจัยผลิตมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของโลก รองลงมาคือ [[มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท]] ของ [[ประเทศรัสเซีย]]


==ศิษย์เก่าที่มีชื่อเสียงชาวไทย==
* ศ. ดร. [[ปรีดี พนมยงค์]]
*ม.ล.[[ทวีสันต์ ลดาวัลย์]]
* พ.อ.(พิเศษ) ดร.[[ถนัด คอมันตร์]]
* ศ. ดร. ท่านผู้หญิง[[สุริยา รัตนกุล]]
* ศ. ดร.[[บวรศักดิ์ อุวรรณโณ]]
* ดร. [[โภคิน พลกุล]]
* [[รองศาสตราจารย์]] ดร.[[โคทม อารียา]]
* [[ศาสตราจารย์]] ดร.[[เอี่ยม ฉายางาม]]
* [[ตั้ว ลพานุกรม|ภก.ดร.ตั้ว ลานุกรม]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในประเทศฝรั่งเศส|ปารีส]]
[[หมวดหมู่:สถาบันอุดมศึกษาในประเทศฝรั่งเศส|ปารีส]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 13]]
[[หมวดหมู่:ก่อตั้งในคริสต์ศตวรรษที่ 13]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:11, 23 มิถุนายน 2556

ตึกวิทยาลัยซอร์บอนน์ ของมหาวิทยาลัยปารีส ในฝรั่งเศส

มหาวิทยาลัยปารีส (ฝรั่งเศส: Université de Paris) เป็นมหาวิทยาลัยที่เก่าแก่เป็นอันดับสองของโลก รองจากมหาวิทยาลัยโบโลญญาในประเทศอิตาลี หลังจากก่อตั้งขึ้นมาเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 12 มหาวิทยาลัยปารีสก็มีชื่อเสียงและนักศึกษามากกว่ามหาวิทยาลัยโบโลญย่าเสียอีก แม้แต่ชาวอังกฤษก็ต้องไปเรียนที่ประเทศฝรั่งเศส ต่อมากษัตริย์อังกฤษและฝรั่งเศสทรงทะเลาะกัน กษัตริย์อังกฤษจึงห้ามมิให้ชาวอังกฤษไปเรียนที่ฝรั่งเศสอีก และได้พากันมารวมตัวก่อตั้ง มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ด ขึ้นเป็นแห่งแรกในอังกฤษ

ข้อแตกต่างอย่างสำคัญระหว่าง มหาวิทยาลัยอ๊อกซฟอร์ดและมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ หรือเรียกรวมๆ ว่า 'ระบบ อ๊อกซบริดจ์' กับมหาวิทยาลัยปารีสในอดีต ก็คือระบบอ๊อกซบริดจ์จะเน้นประสิทธิภาพสูงสุดในการสอนโดยใช้ระบบติวเตอร์พร้อมๆ กับการวิจัย ทั้งสองอย่างนี้กระทำในเวลาเดียวกัน ระบบนี้ทำให้ครูอาจารย์ใกล้ชิดนักศึกษามากเป็นพิเศษ แต่มหาวิทยาลัยปารีส เน้นหนักด้านการทำวิจัยมากกว่า กล่าวคือใครมีวุฒิการศึกษาระดับม.ปลายที่ได้รับการยอมรับก็สมัครเข้าเรียนที่มหาวิทยาลัยปารีสได้ทั้งนั้น ครูอาจารย์จะเอาเวลาส่วนใหญ่ไปทำการค้นคว้าวิจัย ดังนั้น จึงมีเวลาคุยกับนักศึกษาน้อยมาก

ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยปารีสนั้น ได้รับความสนใจจากบรรดานักศึกษาจากทั่วทุกมุมโลก อาจเนื่องมาจากมีค่าเล่าเรียนที่ไม่แพงนัก เมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยในสหราชอาณาจักรและสหรัฐอเมริกา ภาวะการแข่งขันเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยปารีสจึงมีอัตราค่อนข้างสูง และโดยปกติแล้ว นักศึกษาที่จะเข้าเรียนต้องยื่นผลสอบวัดระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสในขั้นสูง

ดังนั้น เมื่อกอร์แมน (Gourman's Report) ได้พยายามสำรวจผลการวิจัยของมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยปารีสมีผลงานวิจัยผลิตมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งของโลก รองลงมาคือ มหาวิทยาลัยมอสโกสเตท ของ ประเทศรัสเซีย