ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{โครงชีวประวัติ}}
{{โครงชีวประวัติ}}
'''อำมาตย์ตรี หลวงศิริราชไมตรี''' อดีตผู้ช่วยราชการสถา่นทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และสมาชิก[[คณะราษฎร]]
'''อำมาตย์ตรี หลวงศิริราชไมตรี''' อดีตผู้ช่วยราชการสถานทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และสมาชิก[[คณะราษฎร]]


หลวงศิริราชไมตรี มีชื่อจริงว่า '''จรูญ สิงหเสนี''' จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] เคยเป็นนายทหารอาสายศ [[สิบตรี]] (ส.ต.) ในการร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] (พ.ศ. 2457-พ.ศ. 2461) เคยเป็นนักเรียนวิชากฏหมายในประเทศฝรั่งเศส ด้วยทุนกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เป็นผู้ช่วยราชการสถา่นทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตำแหน่งเลขานุการเอกอัครราชทูต
หลวงศิริราชไมตรี มีชื่อจริงว่า '''จรูญ สิงหเสนี''' จบการศึกษาจาก[[โรงเรียนอัสสัมชัญ]] เคยเป็นนายทหารอาสายศ [[สิบตรี]] (ส.ต.) ในการร่วมรบใน[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] (พ.ศ. 2457-พ.ศ. 2461) เคยเป็นนักเรียนวิชากฏหมายในประเทศฝรั่งเศส ด้วยทุนกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เป็นผู้ช่วยราชการสถา่นทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตำแหน่งเลขานุการเอกอัครราชทูต

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:40, 13 มิถุนายน 2556

อำมาตย์ตรี หลวงศิริราชไมตรี อดีตผู้ช่วยราชการสถานทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส และสมาชิกคณะราษฎร

หลวงศิริราชไมตรี มีชื่อจริงว่า จรูญ สิงหเสนี จบการศึกษาจากโรงเรียนอัสสัมชัญ เคยเป็นนายทหารอาสายศ สิบตรี (ส.ต.) ในการร่วมรบในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (พ.ศ. 2457-พ.ศ. 2461) เคยเป็นนักเรียนวิชากฏหมายในประเทศฝรั่งเศส ด้วยทุนกระทรวงยุติธรรม ต่อมาได้เป็นผู้ช่วยราชการสถา่นทูตสยามประจำกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตำแหน่งเลขานุการเอกอัครราชทูต

หลวงศิริราชไมตรีี ได้เข้าร่วมกับคณะราษฎร เพื่อร่วมในการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง จากการชักชวนของนายปรีดี พนมยงค์ นักเรียนวิชากฏหมาย ทุนกระทรวงยุติธรรมเช่นเดียวกัน จัดเป็นคณะราษฎรชุดแรกที่มีการก่อตัวขึ้น 7 คน และถือเป็นเพียงคนเดียวที่มิได้มีสถานภาพเป็นนักเรียนหรือนักศึกษา อีกทั้งเมื่อสมาชิกคนอื่น ๆ ได้ศึกษาจบแล้ว ก็ได้เดินทางกลับสู่้ประเทศสยาม แต่หลวงศิริราชไมตรีไม่ได้กลับมาด้วย[1] [2]

ต่อมาหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองสำเร็จแล้ว หลวงศิริราชไมตรีได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัฐมนตรีที่ไม่ได้สังกัดกระทรวง (รัฐมนตรีลอย) และต่อมาได้เป็นราชเลขานุการในพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (รัชกาลที่ 8) ด้วย

อ้างอิง

  1. สองฝั่งประชาธิปไตย, "2475". สารคดีทางไทยพีบีเอส: 26 กรกฎาคม 2555
  2. ชะตากรรมของพระยาทรงสุรเดช หนึ่งในสี่ทหารเสือคณะราษฎร์