ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จู่ชือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
== ศาสนาพุทธ ==
== ศาสนาพุทธ ==
'''จู่ซือ''' ของ[[ศาสนาพุทธในประเทศจีน]]เรียกว่า "'''สังฆปริณายก'''" โดยแต่ละนิกายจะมีสายจู่ซือแตกต่างกันไป
'''จู่ซือ''' ของ[[ศาสนาพุทธในประเทศจีน]]เรียกว่า "'''สังฆปริณายก'''" โดยแต่ละนิกายจะมีสายจู่ซือแตกต่างกันไป

=== นิกายสุขาวดี ===
'''[[นิกายสุขาวดี]]''' มีสังฆปริณายก 13 องค์ ดังนี้<ref>{{cite web|title=Introduction to the Pure Land Patriarchs|url=http://www.thomehfang.com/kumarajiva/13Patriarchs/13Patriarchs_20Nov2003.htm|publisher=THOMÉ H. FANG INSTITUTE|date=20 พฤศจิกาายน 2552|accessdate=11 มิถุนายน 2556}}</ref>

{|class="wikitable" style="text-align:center"
|-
| '''ลำดับที่''' || '''รายนาม''' || width=20%|'''เกิด''' || width=20%|'''มรณภาพ'''
|-
| 1 || [[ฮุ่ยเยฺวี่ยน]] || ค.ศ. 334 || ค.ศ. 416
|-
| 2 || [[ซั่นเต้า]] || ค.ศ. 613 || ค.ศ. 681
|-
| 3 || [[เฉิงหยวน]] || ค.ศ. 712 || ค.ศ. 802
|-
| 4 || [[ฝ่าเจ้า]] || ? || ?
|-
| 5 || [[เซ่าคัง]] || ค.ศ. 770 || ค.ศ. 805
|-
| 6 || [[เหยียนโซ่ว]] || ค.ศ. 904 || ค.ศ. 975
|-
| 7 || [[เสิ่งฉัง]] || ค.ศ. 959 || ค.ศ. 1020
|-
| 8 || [[เหลียนฉือ]] || ค.ศ. 1532 || ค.ศ. 1612
|-
| 9 || [[จื้อซฺวี่]] || ค.ศ. 1598 || ค.ศ. 1655
|-
| 10 || [[สิงเช่อ]] || ค.ศ. 1627 || ค.ศ. 1682
|-
| 11 || [[สือเสียน]] || ค.ศ. 1686 || ค.ศ. 1734
|-
| 12 || [[จี้สิ่ง]] || ค.ศ. 1741 || ค.ศ. 1810
|-
| 13 || [[เซิ่งเลี่ยง]] || ค.ศ. 1861 || ค.ศ. 1941
|}

=== นิกายอวตังสกะ ===
'''นิกาย[[หัวเหยียน]]''' หรือนิกายอวตังสกะ มีสังฆปริณายก 5 องค์ ดังนี้

{|class="wikitable" style="text-align:center"
|-
| '''ลำดับที่''' || '''รายนาม''' || width=20%|'''เกิด''' || width=20%|'''มรณภาพ'''
|-
| 1 || [[ตูซุน]] || ค.ศ. 557 || ค.ศ. 640
|-
| 2 || [[จี้เหยี่ยน]] || ค.ศ. 602 ||ค.ศ. 668
|-
| 3 || [[ฝ่าจั้ง]] || ค.ศ. 643 || ค.ศ. 712
|-
| 4 || [[ชิงเหลียง]] || ค.ศ. 738 || ค.ศ. 839
|-
| 5 || [[จงมี่]] || ค.ศ. 780 || ค.ศ. 841
|}


=== นิกายเซน ===
=== นิกายเซน ===
นิกาย[[เซน]]ในประเทศจีนมีสังฆปริณายก 6 องค์ ซึ่งเชื่อว่าได้รับสืบทอดบาตรและจีวรจาก[[พระโคตมพุทธเจ้า]] สังฆปริณายกทั้ง 6 มีลำดับดังนี้<ref>{{Citation | last =McRae | first =John | author-link = | year =2003 | title =Seeing Through Zen. Encounter, Transformation, and Genealogy in Chinese Chan Buddhism | place = | publisher =The University Press Group Ltd | ISBN =9780520237988}}</ref>
'''นิกาย[[เซน]]'''ในประเทศจีนมีสังฆปริณายก 6 องค์ ซึ่งเชื่อว่าได้รับสืบทอดบาตรและจีวรจาก[[พระโคตมพุทธเจ้า]] สังฆปริณายกทั้ง 6 มีลำดับดังนี้<ref>{{Citation | last =McRae | first =John | author-link = | year =2003 | title =Seeing Through Zen. Encounter, Transformation, and Genealogy in Chinese Chan Buddhism | place = | publisher =The University Press Group Ltd | ISBN =9780520237988}}</ref>


{|class="wikitable" style="text-align:center"
{|class="wikitable" style="text-align:center"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:48, 11 มิถุนายน 2556

จู่ซือ (จีน: 祖師) บางตำราแปลว่า "ปรมาจารย์" หมายถึง ผู้ก่อตั้งหรือเจ้าสำนักองค์การศาสนาในประเทศจีน ใช้ในศาสนาพุทธ ลัทธิเต๋า ลัทธิเซียนเทียนเต้า ลัทธิอนุตตรธรรม เป็นต้น

ศาสนาพุทธ

จู่ซือ ของศาสนาพุทธในประเทศจีนเรียกว่า "สังฆปริณายก" โดยแต่ละนิกายจะมีสายจู่ซือแตกต่างกันไป

นิกายสุขาวดี

นิกายสุขาวดี มีสังฆปริณายก 13 องค์ ดังนี้[1]

ลำดับที่ รายนาม เกิด มรณภาพ
1 ฮุ่ยเยฺวี่ยน ค.ศ. 334 ค.ศ. 416
2 ซั่นเต้า ค.ศ. 613 ค.ศ. 681
3 เฉิงหยวน ค.ศ. 712 ค.ศ. 802
4 ฝ่าเจ้า ? ?
5 เซ่าคัง ค.ศ. 770 ค.ศ. 805
6 เหยียนโซ่ว ค.ศ. 904 ค.ศ. 975
7 เสิ่งฉัง ค.ศ. 959 ค.ศ. 1020
8 เหลียนฉือ ค.ศ. 1532 ค.ศ. 1612
9 จื้อซฺวี่ ค.ศ. 1598 ค.ศ. 1655
10 สิงเช่อ ค.ศ. 1627 ค.ศ. 1682
11 สือเสียน ค.ศ. 1686 ค.ศ. 1734
12 จี้สิ่ง ค.ศ. 1741 ค.ศ. 1810
13 เซิ่งเลี่ยง ค.ศ. 1861 ค.ศ. 1941

นิกายอวตังสกะ

นิกายหัวเหยียน หรือนิกายอวตังสกะ มีสังฆปริณายก 5 องค์ ดังนี้

ลำดับที่ รายนาม เกิด มรณภาพ
1 ตูซุน ค.ศ. 557 ค.ศ. 640
2 จี้เหยี่ยน ค.ศ. 602 ค.ศ. 668
3 ฝ่าจั้ง ค.ศ. 643 ค.ศ. 712
4 ชิงเหลียง ค.ศ. 738 ค.ศ. 839
5 จงมี่ ค.ศ. 780 ค.ศ. 841

นิกายเซน

นิกายเซนในประเทศจีนมีสังฆปริณายก 6 องค์ ซึ่งเชื่อว่าได้รับสืบทอดบาตรและจีวรจากพระโคตมพุทธเจ้า สังฆปริณายกทั้ง 6 มีลำดับดังนี้[2]

ลำดับที่ รายนาม เกิด มรณภาพ
1 พระโพธิธรรม ค.ศ. 440 ค.ศ. 528
2 ฮุ่ยเข่อ ค.ศ. 487 ค.ศ. 593
3 เซิงชั่น ไม่ปรากฏ ค.ศ. 606
4 เต้าซิ่น ค.ศ. 580 ค.ศ. 651
5 หงเหริ่น ค.ศ. 601 ค.ศ. 674
6 ฮุ่ยเหนิง ค.ศ. 638 ค.ศ. 713

ลัทธิเซียนเทียนเต้า

ลัทธิเซียนเทียนเต้าซึ่งหวง เต่อฮุยก่อตั้งขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้กำหนดสายจู่ซือโดยถือเอาสังฆปริณายกทั้ง 6 องค์ของนิกายเซนเป็นปรมาจารย์ของเซียนเทียนเต้าด้วย ต่อด้วยนักพรตเต๋าอีก 2 รูป แล้วหวง เต๋อฮุย ถือว่าตนเองเป็นจู่ซือลำดับที่ 9 ต่อจากเต๋อฮุยแล้วยังมีจู่ซือสืบมาอีกดังนี้[3]

ลำดับที่ รายนาม เกิด เสียชีวิต
7. ไป๋ อวี้ฉัน และหม่า ตวนหยัง ค.ศ. 1194/1123 ค.ศ. 1229/1183
8. หลัว เว่ยฉวิน ? ?
9. หวง เต๋อฮุย ค.ศ. 1684 ค.ศ. 1750
10. อู๋ จื่อเสียง ค.ศ. 1715 ค.ศ. 1784
11. เหอ รั่ว ? ?
12. หยวน จื้อเชียน ค.ศ. 1760 ค.ศ. 1834
13. สวี กู่หนัน และหยาง โส่วอี ? ?
14. เผิง อีฝ่า ? ?
15. หลิน จินจู่ ? ?

หลังจู่ซือรุ่นที่ 15 แล้ว ลัทธิเซียนเทียนเต้าก็แตกออกเป็นหลายสายย่อย

อ้างอิง

  1. "Introduction to the Pure Land Patriarchs". THOMÉ H. FANG INSTITUTE. 20 พฤศจิกาายน 2552. สืบค้นเมื่อ 11 มิถุนายน 2556. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  2. McRae, John (2003), Seeing Through Zen. Encounter, Transformation, and Genealogy in Chinese Chan Buddhism, The University Press Group Ltd, ISBN 9780520237988
  3. Prior Heaven School, Encyclopedia of Taiwan, เรียกข้อมูลวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2556