ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เกรินุก"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4: บรรทัด 4:
| status_ref = <ref name=iucn>{{IUCN2008|assessors=IUCN SSC Antelope Specialist Group|year=2008|id=12142|title=Litocranius walleri|downloaded=29 March 2009}} Database entry includes a brief justification of why this species is of near threatened.</ref>
| status_ref = <ref name=iucn>{{IUCN2008|assessors=IUCN SSC Antelope Specialist Group|year=2008|id=12142|title=Litocranius walleri|downloaded=29 March 2009}} Database entry includes a brief justification of why this species is of near threatened.</ref>
| trend = down
| trend = down
| image = Gerenuks in Samburu.jpg
| image = Flickr - don macauley - Gerenuk.jpg
| image_caption = เจเรนุคขณะกินใบไม้
| image_caption =
| image_width = 250px
| image_width =
| regnum = [[Animal]]ia
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
| phylum = [[Chordate|Chordata]]
บรรทัด 31: บรรทัด 31:


ตัวผู้มีเขาที่โค้งงอสวยงาม ขณะที่ตัวเมียไม่มีเขาและตัวเล็กกว่า
ตัวผู้มีเขาที่โค้งงอสวยงาม ขณะที่ตัวเมียไม่มีเขาและตัวเล็กกว่า
[[ภาพ:Gerenuks in Samburu.jpg|thumb|100px|left|ขณะกินใบไม้]]
ใน[[Samburu National Reserve|เขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรู]]ใน[[เคนยา]] เจเรนุค ถือเป็นไฮไลต์หรือจุดสนใจในบรรดา[[สัตว์ป่า]] 5 ชนิด ที่พบได้ในนั้น ซึ่งประกอบไปด้วย เจเรนุค, [[Giraffa camelopardalis reticulata|ยีราฟลายร่างแห]], [[Struthio camelus molybdophanes|นกกระจอกเทศโซมาลี]], [[ม้าลายเกรวี]] และ[[Oryx beisa|ไบซาออริคส์]] จะพบได้ในเขต[[แอฟริกาตะวันออก]] เฉพาะที่เขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรูเท่านั้น <ref>''[[สุดหล้าฟ้าเขียว]]'', [[รายการโทรทัศน์|รายการ]][[สารคดี]]ทาง[[ช่อง 3]] โดย [[ปองพล อดิเรกสาร]]: [[วันเสาร์|เสาร์]]ที่ [[24 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2555]]</ref>
ใน[[Samburu National Reserve|เขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรู]]ใน[[เคนยา]] เจเรนุค ถือเป็นไฮไลต์หรือจุดสนใจในบรรดา[[สัตว์ป่า]] 5 ชนิด ที่พบได้ในนั้น ซึ่งประกอบไปด้วย เจเรนุค, [[Giraffa camelopardalis reticulata|ยีราฟลายร่างแห]], [[Struthio camelus molybdophanes|นกกระจอกเทศโซมาลี]], [[ม้าลายเกรวี]] และ[[Oryx beisa|ไบซาออริคส์]] จะพบได้ในเขต[[แอฟริกาตะวันออก]] เฉพาะที่เขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรูเท่านั้น <ref>''[[สุดหล้าฟ้าเขียว]]'', [[รายการโทรทัศน์|รายการ]][[สารคดี]]ทาง[[ช่อง 3]] โดย [[ปองพล อดิเรกสาร]]: [[วันเสาร์|เสาร์]]ที่ [[24 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2555]]</ref>


==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Litocranius walleri}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Litocranius walleri|เจเรนุค}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies-inline|Litocranius walleri}}
{{wikispecies-inline|Litocranius walleri}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 08:21, 3 มิถุนายน 2556

เกรินุก
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Bovidae
วงศ์ย่อย: Antilopinae
สกุล: Litocranius
Kohl, 1886
สปีชีส์: L.  walleri
ชื่อทวินาม
Litocranius walleri
(Brooke, 1878)
ชนิดย่อย
  • L. w. sclateri
  • L. w. walleri

เจเรนุค หรือ วอลเลอร์'ส กาเซลล์ หรือ แอนทีโลปคอยีราฟ (อังกฤษ: Gerenuk, Waller's gazelle, Giraffe-necked antelope; ชื่อวิทยาศาสตร์: Litocranius walleri) เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ่ง ในวงศ์ Antilopinae ในวงศ์ใหญ่ Bovinae

จัดเป็นสิ่งมีชีวิตเพียงชนิดเดียวเท่านั้นที่อยู่ในสกุล Litocranius[2]

มีลักษณะทั่วไปเหมือนสัตว์ชนิดอื่นในวงศ์เดียวกันไป แต่มีลักษณะเด่นคือ มีคอยาวและขายาวกว่าชนิดอื่น ๆ ซึ่งคำว่า "เจเรนุค" นั้นเป็นภาษาโซมาเลีย หมายถึง "คอยีราฟ" เพราะเจเรนุคมีพฤติกรรมการกินอาหารที่แปลก คือ มักจะยืนบนสองขาหลัง ทำให้สามารถยืดคอขึ้นไปกินใบไม้ที่อยู่สูงขึ้นไปเหมือนยีราฟ ส่วนสองขาหน้าจะใช้เกาะกิ่งไม้ไว้

ขนาดเมื่อโตเต็มที่ในตัวผู้จะมีน้ำหนัก 45 กิโลกรัม ในตัวเมีย 33 กิโลกรัม มีความสูงวัดจากเท้าจนถึงหัวไหล่ประมาณ 85 เซนติเมตรจนถึง 1 เมตร ความยาวลำตัวประมาณ 1.5-1.6 เมตร ความยาวหาง 25-30 เซนติเมตร มีอายุขัยโดยเฉลี่ย 10-12 ปี

ตัวผู้มีเขาที่โค้งงอสวยงาม ขณะที่ตัวเมียไม่มีเขาและตัวเล็กกว่า

ขณะกินใบไม้

ในเขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรูในเคนยา เจเรนุค ถือเป็นไฮไลต์หรือจุดสนใจในบรรดาสัตว์ป่า 5 ชนิด ที่พบได้ในนั้น ซึ่งประกอบไปด้วย เจเรนุค, ยีราฟลายร่างแห, นกกระจอกเทศโซมาลี, ม้าลายเกรวี และไบซาออริคส์ จะพบได้ในเขตแอฟริกาตะวันออก เฉพาะที่เขตอนุรักษ์แห่งชาติแซมบูรูเท่านั้น [3]

อ้างอิง

  1. IUCN SSC Antelope Specialist Group (2008). Litocranius walleri. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 29 March 2009. Database entry includes a brief justification of why this species is of near threatened.
  2. จาก itis.gov (อังกฤษ)
  3. สุดหล้าฟ้าเขียว, รายการสารคดีทางช่อง 3 โดย ปองพล อดิเรกสาร: เสาร์ที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2555

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Litocranius walleri ที่วิกิสปีชีส์