ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอพิเนฟรีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 2: บรรทัด 2:
'''อีพีเนฟรีน''' หรือ'''อะดรีนาลีน''' เป็น[[ฮอร์โมน]]และ[[สารสื่อประสาท]] อีพีเนฟรีนมีหลายหน้าที่ในร่างกาย ทั้งควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ เส้นผ่านศูนย์กลางหลอดเลือดและช่องลม และการเปลี่ยนแปลง[[เมแทบอลิซึม]] การหลั่งอีพีเนฟรีนเป็นส่วนสำคัญของการตอบสนองแบบสู้หรือหนีของ[[ระบบประสาทซิมพาเทติก]] ในแง่เคมี อีพีเนฟรีนเป็นมอโนเอมีนกลุ่มหนึ่ง ชื่อว่า แคทีโคลามีน ผลิตขึ้นในเซลล์ประสาทของ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] และในเซลล์โครมาฟฟินใน[[ต่อมหมวกไต]] จากกรดอะมิโน[[ฟีนิลอะลานีน]]และ[[ไทโรซีน]]
'''อีพีเนฟรีน''' หรือ'''อะดรีนาลีน''' เป็น[[ฮอร์โมน]]และ[[สารสื่อประสาท]] อีพีเนฟรีนมีหลายหน้าที่ในร่างกาย ทั้งควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ เส้นผ่านศูนย์กลางหลอดเลือดและช่องลม และการเปลี่ยนแปลง[[เมแทบอลิซึม]] การหลั่งอีพีเนฟรีนเป็นส่วนสำคัญของการตอบสนองแบบสู้หรือหนีของ[[ระบบประสาทซิมพาเทติก]] ในแง่เคมี อีพีเนฟรีนเป็นมอโนเอมีนกลุ่มหนึ่ง ชื่อว่า แคทีโคลามีน ผลิตขึ้นในเซลล์ประสาทของ[[ระบบประสาทส่วนกลาง]] และในเซลล์โครมาฟฟินใน[[ต่อมหมวกไต]] จากกรดอะมิโน[[ฟีนิลอะลานีน]]และ[[ไทโรซีน]]


{{โครงชีววิทยา}}
[[หมวดหมู่:ฮอร์โมน]]
[[หมวดหมู่:ฮอร์โมน]]
[[หมวดหมู่:สารสื่อประสาท]]
[[หมวดหมู่:สารสื่อประสาท]]
{{โครงชีววิทยา}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:01, 28 พฤษภาคม 2556

อีพีเนฟรีน หรืออะดรีนาลีน เป็นฮอร์โมนและสารสื่อประสาท อีพีเนฟรีนมีหลายหน้าที่ในร่างกาย ทั้งควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ เส้นผ่านศูนย์กลางหลอดเลือดและช่องลม และการเปลี่ยนแปลงเมแทบอลิซึม การหลั่งอีพีเนฟรีนเป็นส่วนสำคัญของการตอบสนองแบบสู้หรือหนีของระบบประสาทซิมพาเทติก ในแง่เคมี อีพีเนฟรีนเป็นมอโนเอมีนกลุ่มหนึ่ง ชื่อว่า แคทีโคลามีน ผลิตขึ้นในเซลล์ประสาทของระบบประสาทส่วนกลาง และในเซลล์โครมาฟฟินในต่อมหมวกไต จากกรดอะมิโนฟีนิลอะลานีนและไทโรซีน