ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนามบินอุตรดิตถ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pongsak ksm (คุย | ส่วนร่วม)
ลบหมวดหมู่:ท่าอากาศยานในประเทศไทย; เพิ่ม[[:หมวดหมู่:ท่าอากาศยานในสังกัดกรมการบินพลเรือน...
บรรทัด 41: บรรทัด 41:
{{ท่าอากาศยานขนาดเล็กในประเทศไทย}}
{{ท่าอากาศยานขนาดเล็กในประเทศไทย}}


[[หมวดหมู่:ท่าอากาศยานในประเทศไทย|อุตรดิตถ์]]
[[หมวดหมู่:ท่าอากาศยานในสังกัดกรมการบินพลเรือน|อุตรดิตถ์]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดอุตรดิตถ์]]
[[หมวดหมู่:จังหวัดอุตรดิตถ์]]
{{โครง}}
{{โครง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 18:41, 15 พฤษภาคม 2556

สนามบินอุตรดิตถ์
ไฟล์:สนามบินอุตรดิตถ์.jpg
ข้อมูลสำคัญ
การใช้งานสนามบินพาณิชย์, สนามบินกรมการขนส่งทางอากาศ
ทางวิ่ง
ทิศทาง ความยาว พื้นผิว
เมตร ฟุต
N/A 1,250 1,000 ลาดยาง

สนามบินอุตรดิตถ์ ตั้งอยู่ บ้านวังยาง หมู่ 2 ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ ใกล้กับที่ทำการเทศบาลตำบลผาจุก และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า อุตรดิตถ์ ห่างจากตัวจังหวัดอุตรดิตถ์ ไปทางถนนทางหลวง สายอุตรดิตถ์-เขื่อนสิริกิติ์ ประมาณ 15 กิโลเมตร

ประวัติ

เดิมเป็นสนามบินที่สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการขนส่งสารรัฐธรรมนูญจากจังหวัดพระนคร มายังจังหวัดอุตรดิตถ์ และต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นสนามบินพาณิชย์มี เที่ยวบินจำนวน 1 เที่ยวบิน (ดอนเมือง-อุตรดิตถ์) แต่เนื่องจากไม่คุ้มทุนในการเดินทาง และมีผู้โดยสารน้อยเพราะคนส่วนใหญ่จะใช้การเดินทางโดยรถไฟ จึงยกเลิกสนามบินอุตรดิตถ์ไป ส่งผลให้สนามบินอุตรดิตถ์เป็นสนามบินร้างไม่มีเที่ยวบินพาณิชย์ เป็นเพียงที่ดินผืนเปล่า แต่ยังมีร่องรอยของการเคยเป็นสนามบินในอดีต ถึงแม้ว่าทางหน่วยงานราชการจะมีการรื้อฟื้นสนามบินนี้ขึ้นมาใหม่แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จ เนื่องจากจังหวัดอุตรดิตถ์เป็นจังหวัดเล็ก ประชาชนอยู่ในฐานะปานกลาง ค่าครองชีพต่ำจึงทำให้ต้องยุบเลิกโครงการไป และมีการจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์พันธุ์พืช ในพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี และการจัดตั้งวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขึ้นแทนในปี พ.ศ. 2553[1]

สายการบินที่เคยให้บริการ

การใช้ประโยชน์

สนามบินอุตรดิตถ์ ไม่มีการใช้งานเป็นสนามบินกว่า 40 ปี มีเพียงแต่กรมทหารม้าที่ 2 กองพันทหารม้าที่ 7 ค่ายพิชัยดาบหัก ใช้ประโยชน์ในการรับส่งสิ่งของภายในส่วนราชการ และรับเสด็จพระบรมวงศ์ศานุวงศ์เท่านั้น

ต่อมาในปี พ.ศ. 2553 ได้เข้ามาใช้ประโยชน์โดยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการก่อสร้างศูนย์อนุรักษ์พันธุกรรมพืชภาคเหนือตอนล่าง ตามแนวพระราชดำริขึ้น พร้อมกับการจัดตั้งวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็น มหาวิทยาลัยแม่โจ้-อุตรดิตถ์

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น