ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมการของล็อนด็อน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pornchai R (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 4: บรรทัด 4:


โดย λ<sub>L</sub> เป็นค่าคงตัวไดๆ ที่ต่อมาถูกเรียกว่าความลึกซาบซึมได้ของลอนดอน (London penetration depth) เป็นตัวแปรแบบ Phenomenological parameter การหาคำตอบจากสมการ (1) จะขึ้นกับลักษณะรูปร่างและเงื่อนไขขอบเขตของปัญหาที่สนใจ แต่อย่างไรก็ตามคำตอบจะอยู่รูป B =B_0 e<sup>(-x/ λ<sub>L</sub>)</sup> เมื่อพิจารณาระยะทางตามแกน x แสดงว่าสนามแม่เหล็กสามารถทะลุเข้าไปในเนื้อตัวนำยวดยิ่งได้ λ<sub>L</sub> หน่วย จึงจะมีค่าสนามแม่เหล็ก (B) ลดลงเหลือเป็น B/e โดย e = 2.718
โดย λ<sub>L</sub> เป็นค่าคงตัวไดๆ ที่ต่อมาถูกเรียกว่าความลึกซาบซึมได้ของลอนดอน (London penetration depth) เป็นตัวแปรแบบ Phenomenological parameter การหาคำตอบจากสมการ (1) จะขึ้นกับลักษณะรูปร่างและเงื่อนไขขอบเขตของปัญหาที่สนใจ แต่อย่างไรก็ตามคำตอบจะอยู่รูป B =B_0 e<sup>(-x/ λ<sub>L</sub>)</sup> เมื่อพิจารณาระยะทางตามแกน x แสดงว่าสนามแม่เหล็กสามารถทะลุเข้าไปในเนื้อตัวนำยวดยิ่งได้ λ<sub>L</sub> หน่วย จึงจะมีค่าสนามแม่เหล็ก (B) ลดลงเหลือเป็น B/e โดย e = 2.718



== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:สมการ]]
[[หมวดหมู่:สมการ]]




[[cs:Supravodivost#Vysokoteplotní supravodivost]]
:[[London F .,and London H., Z.Phys. 96,259(1935). ;London F .,and London H.,Proc.Roy.Soc.(London),A147,71(1935). ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:24, 14 พฤษภาคม 2556

ในปี 1935 พี่น้องตระกูล London (F.London และ H.London. 1935) เป็นผู้ที่นำเสนอแบบจำลองแบบ Phenomenological theory ที่สามารถอธิบายตัวนำยวดยิ่งได้ประสบความสำเร็จมากในช่วงนั้น ซึ่งสามารถใช้อธิบายปรากฎการณ์ไมส์เนอร์ได้ดี ทั้งสองได้นำเสนอการประยุกต์ใช้สมการแมกเวลล์ในระบบของตัวนำยวดยิ่ง โดยกำหนดให้การนำไฟฟ้าในตัวนำยวดยิ่งเกิดจาก superelectrons ที่มีสมบัติแบบของไหลจินตภาพกล่าวคือจะเป็นที่ incompressible และ nonviscous และสาใรถคำนวณหาค่าของสนามแม่เหล็ก B และความหนาแน่นกระไฟฟ้า J ในตัวนำยวดยิ่ง ตามสมการ

2 B= B/ λL2 ) และ ∇2 J= J/ λL 2 ....... (1)

โดย λL เป็นค่าคงตัวไดๆ ที่ต่อมาถูกเรียกว่าความลึกซาบซึมได้ของลอนดอน (London penetration depth) เป็นตัวแปรแบบ Phenomenological parameter การหาคำตอบจากสมการ (1) จะขึ้นกับลักษณะรูปร่างและเงื่อนไขขอบเขตของปัญหาที่สนใจ แต่อย่างไรก็ตามคำตอบจะอยู่รูป B =B_0 e(-x/ λL) เมื่อพิจารณาระยะทางตามแกน x แสดงว่าสนามแม่เหล็กสามารถทะลุเข้าไปในเนื้อตัวนำยวดยิ่งได้ λL หน่วย จึงจะมีค่าสนามแม่เหล็ก (B) ลดลงเหลือเป็น B/e โดย e = 2.718


อ้างอิง

London F .,and London H., Z.Phys. 96,259(1935). ;London F .,and London H.,Proc.Roy.Soc.(London),A147,71(1935).