ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎของโลปีตาล"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 39 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q190557 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่คำผ่านการค้นหา: 'ครอบครุม'→'ครอบคลุม'
บรรทัด 20: บรรทัด 20:
:<math>\lim_{x\to c}{f(x)\over g(x)}=A</math>
:<math>\lim_{x\to c}{f(x)\over g(x)}=A</math>


โปรดสังเกตเงื่อนไขที่ว่าลิมิต ''f'''/''g''' มีอยู่จริง บางครั้งการหาอนุพันธ์อาจได้ผลลัพธ์ที่หาลิมิตไม่ได้ในกรณีนี้หลักเกณฑ์โลปีตาลไม่ครอบครุม
โปรดสังเกตเงื่อนไขที่ว่าลิมิต ''f'''/''g''' มีอยู่จริง บางครั้งการหาอนุพันธ์อาจได้ผลลัพธ์ที่หาลิมิตไม่ได้ในกรณีนี้หลักเกณฑ์โลปีตาลไม่ครอบคลุม


ตัวอย่างที่เป็นเลข
ตัวอย่างที่เป็นเลข

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:21, 13 พฤษภาคม 2556

ในแคลคูลัส หลักเกณฑ์โลปีตาล (l'Hôpital's rule) ใช้อนุพันธ์เพื่อช่วยในการคำนวณลิมิตที่อยู่ในรูปแบบยังไม่กำหนด (indeterminate forms) หลักเกณฑ์นี้มักนำมาใช้ในการเปลี่ยนรูปแบบยังไม่กำหนด เป็นรูปแบบกำหนด เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณลิมิต

ภาพรวม

เมื่อต้องการหาค่าลิมิตของผลหาร f(x)/g(x) ซึ่งทั้งตัวเศษและตัวส่วนมีค่าเข้าใกล้ 0 หรือ ตัวส่วนมีค่าเข้าใกล้อนันต์ หลักเกณฑ์โลปีตาล กล่าวว่า การหาอนุพันธ์ของตัวเศษและตัวส่วน จะไม่ทำให้ลิมิตเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตาม เรามักนิยมแปลงผลหารให้อยู่ในรูปแบบกำหนด เพื่อให้ง่ายต่อการคำนวณ

หรือกล่าวว่า ถ้า และ

แล้ว

โปรดสังเกตเงื่อนไขที่ว่าลิมิต f/g มีอยู่จริง บางครั้งการหาอนุพันธ์อาจได้ผลลัพธ์ที่หาลิมิตไม่ได้ในกรณีนี้หลักเกณฑ์โลปีตาลไม่ครอบคลุม

ตัวอย่างที่เป็นเลข

ให้ทำการดิฟ เศษและส่วน คือ ดิฟเศษ 2x - 4 = 2 ดิฟส่วน x - 2 = 1

เพราะฉะนั้น คำตอบเท่ากับ