ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเขี้ยวแก้ว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{วิกิซอร์ซ|1=พระเขี้ยวแก้ว|2='พระเขี้ยวแก้ว' (พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์)}}
[[ไฟล์:Copy of Buddha tooth.jpg|thumb|150px|พระเขี้ยวแก้วจำลอง ในพิพิธภัณฑ์เมืองโคลอมโบ ศรีลังกา]]
[[ไฟล์:Copy of Buddha tooth.jpg|thumb|150px|พระเขี้ยวแก้วจำลอง ในพิพิธภัณฑ์เมืองโคลอมโบ ศรีลังกา]]
'''พระเขี้ยวแก้ว''' หรือ '''พระทาฐธาตุ''' คือ[[พระบรมสารีริกธาตุ|พระทันตธาตุ]]ส่วนที่เป็น[[เขี้ยว]]ของ[[พระโคตมพุทธเจ้า]] ซึ่งข้อมูลในคัมภีร์[[พระไตรปิฏก]]ใน[[ลักขณสูตร]] ได้กล่าวถึง มหาบุรุษลักษณะ 32 ประการ มีข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึง ลักษณะของพระทาฐะหรือเขี้ยวของบุคคลผู้มีลักษณะแห่งมหาบุรุษว่า "เขี้ยวพระทนต์ทั้งสี่งามบริสุทธิ์" ข้อมูลนี้จึงทำให้ทราบและเป็นที่ยืนยันว่า พระเขี้ยวแก้วมีทั้งหมด 4 องค์
'''พระเขี้ยวแก้ว''' หรือ '''พระทาฐธาตุ''' คือ[[พระบรมสารีริกธาตุ|พระทันตธาตุ]]ส่วนที่เป็น[[เขี้ยว]]ของ[[พระโคตมพุทธเจ้า]] ซึ่งข้อมูลในคัมภีร์[[พระไตรปิฏก]]ใน[[ลักขณสูตร]] ได้กล่าวถึง มหาบุรุษลักษณะ 32 ประการ มีข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึง ลักษณะของพระทาฐะหรือเขี้ยวของบุคคลผู้มีลักษณะแห่งมหาบุรุษว่า "เขี้ยวพระทนต์ทั้งสี่งามบริสุทธิ์" ข้อมูลนี้จึงทำให้ทราบและเป็นที่ยืนยันว่า พระเขี้ยวแก้วมีทั้งหมด 4 องค์
บรรทัด 11: บรรทัด 10:
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* {{วิกิซอร์ซบนบรรทัด|1=พระเขี้ยวแก้ว|2=''พระเขี้ยวแก้ว'' โดย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์}}


[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:18, 23 เมษายน 2556

พระเขี้ยวแก้วจำลอง ในพิพิธภัณฑ์เมืองโคลอมโบ ศรีลังกา

พระเขี้ยวแก้ว หรือ พระทาฐธาตุ คือพระทันตธาตุส่วนที่เป็นเขี้ยวของพระโคตมพุทธเจ้า ซึ่งข้อมูลในคัมภีร์พระไตรปิฏกในลักขณสูตร ได้กล่าวถึง มหาบุรุษลักษณะ 32 ประการ มีข้อความตอนหนึ่งกล่าวถึง ลักษณะของพระทาฐะหรือเขี้ยวของบุคคลผู้มีลักษณะแห่งมหาบุรุษว่า "เขี้ยวพระทนต์ทั้งสี่งามบริสุทธิ์" ข้อมูลนี้จึงทำให้ทราบและเป็นที่ยืนยันว่า พระเขี้ยวแก้วมีทั้งหมด 4 องค์

เป็นที่เชื่อกันว่า บนโลกมนุษย์ของเรานี้ มีพระเขี้ยวแก้วขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดิษฐานอยู่ 2 องค์ นอกจากนี้ พระเขี้ยวแก้วยังจัดเป็นพระบรมสารีริกธาตุที่ไม่แยกกระจัดกระจาย องค์มีลักษณะแข็งแกร่งรวมกันแน่น พุทธศาสนิกชนจึงมีความศรัทธาเลื่อมใสในองค์พระเขี้ยวแก้วเป็นอย่างมาก

อ้างอิง

  1. พระธรรมโกศาจารย์. (2550). เยือนสยามนิกายในศรีลังกา. [ออน-ไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc.php?article_id=626&articlegroup_id=21 เข้าถึงเมื่อ 3-4-55

แหล่งข้อมูลอื่น