ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ยูเอชที"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Jungide (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4409602 สร้างโดย 58.9.78.241 (พูดคุย)ก่อเกรียน
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 14 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q1562464 (translate me)
บรรทัด 8: บรรทัด 8:


[[ca:Uperització]]
[[ca:Uperització]]
[[cs:Ultra-high temperature processing]]
[[da:UHT-behandling]]
[[da:UHT-behandling]]
[[de:Ultrahocherhitzung]]
[[de:Ultrahocherhitzung]]
[[en:Ultra-high-temperature processing]]
[[eo:Ultrapasteŭrizado]]
[[es:Ultrapasteurización]]
[[eu:UHT]]
[[fi:Iskukuumennus]]
[[fr:Lait UHT]]
[[he:חלב עמיד]]
[[id:UHT]]
[[ja:超高温加熱処理法]]
[[nl:UHT]]
[[pl:UHT]]
[[pt:UHT]]
[[pt:UHT]]
[[ru:Ультрапастеризация]]
[[ru:Ультрапастеризация]]
[[sk:Uperizácia]]
[[sv:UHT-behandling]]
[[tr:UHT]]
[[tr:UHT]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:20, 23 เมษายน 2556

ยูเอชที (อังกฤษ: UHT) ย่อมาจาก ultra-high-temperature processing หรือ ultra-heat treatment เป็นวิธีการฆ่าเชื้อสำหรับอาหาร โดยผ่านกระบวนการให้ความร้อนสูงเป็นเวลาสั้นๆ ประมาณ 1 - 2 วินาทีที่อุณหภูมิ 135 องศาเซลเซียส (275 องศาฟาเรนไฮต์) ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่สปอร์ในน้ำนมถูกทำลายจนหมด กระบวนการฆ่าเชื้อด้วยอุณหภูมิสูงนี้ คิดค้นเป็นครั้งแรกในทศวรรษ 1960 โดยใช้กับน้ำนมเป็นที่รู้จักกันในชื่อนมยูเอชที ในปัจจุบันยังใช้ถนอมอาหารอื่นๆ เช่น น้ำผลไม้ ครีม โยเกิร์ต ไวน์

นมยูเอชทีสามารถเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้องได้นาน 6 - 9 เดือน เปรียบเทียบกับนมพาสเจอร์ไรส์ ที่ผ่านกระบวนการพาสเจอร์ไรเซชัน ที่อุณหภูมิ 72 องศาเซลเซียส (161.6 องศาฟาเรนไฮต์) เป็นเวลาอย่างน้อย 15 วินาที ซึ่งเก็บรักษาที่อุณหภูมิต่ำในตู้เย็นได้นาน 2 - 3 สัปดาห์