ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทะเลทรายสะฮารา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เก็บกวาด +เก็บกวาดด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|สะฮารา (แก้ความกำกวม)}}
{{ความหมายอื่น|ดูที่=สะฮารา (แก้ความกำกวม)}}
{{Geobox|พื้นที่แห้งแล้ง
{{Geobox|พื้นที่แห้งแล้ง
| name = ทะเลทรายสะฮารา
| name = ทะเลทรายสะฮารา

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:56, 14 เมษายน 2556

ทะเลทรายสะฮารา (الصحراء الكبرى)
พื้นที่แห้งแล้งใหญ่
พื้นที่แห้งแล้ง
ภาพจากดาวเทียมแสดงทะเลทรายสะฮาราโดยนาซ่า เวิลด์ วายด์ NASA World Wind.
ประเทศ Algeria, Chad, Egypt, Eritrea, Libya, Mali, Mauritania, Morocco, Niger, Sudan, Tunisia, Western Sahara
จุดสูงสุด Emi Koussi 11,204 ft (3,415 m)
 - coordinates 19°47′36″N 18°33′6″E / 19.79333°N 18.55167°E / 19.79333; 18.55167
จุดต่ำสุด Qattara Depression −436 ft (−133 m)
 - coordinates 30°0′0″N 27°5′0″E / 30.00000°N 27.08333°E / 30.00000; 27.08333
ความยาว 4,800 km (2,983 mi), E/W
Width 1,800 km (1,118 mi), N/S
พื้นที่ 9,400,000 ตร.กม. (3,629,360 ตร.ไมล์)
ไบโอม Desert
พื้นที่สีเหลืองทางตอนเหนือของทวีปแสดงอาณาเขตของทะเลทรายสะฮารา

ทะเลทรายสะฮารา หรือ ซาฮารา หรือ สาฮารา (อังกฤษ: Sahara) เป็นทะเลทรายในทวีปแอฟริกาที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับหนึ่งของโลก และเป็นพื้นที่แห้งแล้งที่ใหญ่เป็นอันดับสามรองจากทะเลน้ำแข็งทวีปแอนตาร์กติกาและทวีปอาร์กติก [1] มีเนื่อที่มากกว่า 9,000,000 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,500,000 ตารางไมล์ คำว่า สะฮารา ในภาษาอาหรับ (صحراء ออกเสียง) หมายถึง ทะเลทราย

อาณาเขตของทะเลทรายสะฮารา ด้านทิศตะวันตกจรดมหาสมุทรแอตแลนติก ทิศเหนือคือเทือกเขาแอตลาสและทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ทิศตะวันออกจรดทะเลแดงและประเทศอียิปต์ ทิศใต้จรดประเทศซูดานและหุบเขาของแม่น้ำไนเจอร์

ภูมิศาสตร์

ทะเลทรายสะฮาราครอบคลุมส่วนใหญ่ของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนแอลจีเรีย, ชาด, อียิปต์, ลิเบีย, มาลี, มอริเตเนีย, โมร็อกโก, ไนเจอร์, เวสเทิร์นสะฮารา, ซูดานและตูนิเซีย


แม่แบบ:Link FA

ดูเพิ่ม

หมายเหตุ

  1. "Largest Desert in the World". สืบค้นเมื่อ 2011-12-30.

อ้างอิง

  • Michael Brett and Elizabeth Frentess. The Berbers. Blackwell Publishers, 1996.
  • Charles-Andre Julien. History of North Africa: From the Arab Conquest to 1830. Praeger, 1970.
  • Abdallah Laroui. The History of the Maghrib: An Interpretive Essay. Princeton, 1977.
  • Hugh Kennedy. Muslim Spain and Portugal: A Political History of al-Andalus. Longman, 1996.
  • Richard W. Bulliet. The Camel and the Wheel. Harvard University Press, 1975. Republished with a new preface Columbia University Press, 1990.
  • Eamonn Gearon. The Sahara: A Cultural History. Signal Books, UK, 2011. Oxford University Press, USA, 2011.