ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีโทรทัศน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Phat21 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 7: บรรทัด 7:


=== ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช. ===
=== ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช. ===
วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ร.บ.กสทช.) ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 เสียง ซึ่งจะมีผลให้ในปี [[พ.ศ. 2558]] เป็นต้นไป จะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่น[[อนาล็อก]]เป็น[[ดิจิตอล]] ซึ่งจะมีผลให้บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าของไทย เพิ่มจาก 6 เป็น 30 ช่องในอนาคต โดยส่วนมากจะใช้ระบบ[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]] เท่าที่สามารถทำได้ก่อนในระยะแรก
วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ร.บ.กสทช.) ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 เสียง ซึ่งจะมีผลให้ในปี [[พ.ศ. 2558]] เป็นต้นไป จะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่น[[อนาล็อก]]เป็น[[ดิจิตอล]] ซึ่งจะมีผลให้บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าของไทย เพิ่มจาก 6 เป็น 48 ช่องในอนาคต โดยส่วนมากจะใช้ระบบ[[โทรทัศน์ความละเอียดสูง]] เท่าที่สามารถทำได้ก่อนในระยะแรก

โดยโทรทัศน์ในอนาคตที่จะใช้ระบบทีวีดิจิตอล จะมี 48ช่องโดยแบ่งเป็น ช่องเด็กและเยาวชน(SD)3ช่อง ช่องข่าว(SD)7ช่อง ช่องทั่วไป(SD)7ช่อง ช่องทั่วไปแบบคมชัดสูง(HD)7ช่อง ช่องทีวีชุมชนภูมิภาค 12ช่อง และช่องสาธารณะ12ช่อง โดยคาดว่าจะเริ่มประมูลได้ใน สิงหาคม กันยายน 2556

โดยช่อง 3 7 9ซึ่งเป็นช่องธุรกิจ จะต้องประมูลในช่องธุรกิจส่วนช่อง 5 11 ThaiPBS จะขอใบอนุญาติทีวีสาธารณะ

โดยคาดว่าช่องธุรกิจที่จะร่วมประมูล คือช่องทั่วไป 3 7 9 ทรู อินทัช อาร์เอส(ช่อง 8)เวิร์คพอยท์ แกรมมี่ กลุ่มอัมรินทร์ ไอพีเอ็ม พริ้นติ้ง เนชั่น ช่องเด็ก ช่อง 9 การ์ตูนคลับ แก๊งการ์ตูน เนชั่น

ช่องข่าว ช่อง9 เนชั่น สปริงนิวส์ เดลินิวส์ ไทยรัฐ TNN24


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:53, 31 มีนาคม 2556

สถานีโทรทัศน์ เป็นหน่วยงาน ที่เป็นเจ้าของคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ หรือเป็นผู้รับสัมปทานคลื่นความถี่วิทยุโทรทัศน์ รวมถึงเป็นผู้จัดสรรเวลาในการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ผ่านคลื่นความถี่ดังกล่าว และยังเป็นบริการส่งสัญญาณออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ไปสู่เครื่องรับโทรทัศน์ โดยผ่านคลื่นความถี่ทางอากาศ โดยมากจะอยู่ในรูปของนิติบุคคล บริษัทจำกัด

บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า

บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่า หรือ ฟรีทีวี เป็นบริการออกอากาศวิทยุโทรทัศน์ ที่หน่วยราชการ และรัฐวิสาหกิจบริษัทมหาชนดำเนินการเอง หรือทำสัญญาสัมปทานให้นิติบุคคลภาคเอกชนดำเนินการ ซึ่งประชาชนสามารถรับชมได้ โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการรับชม

ยุคหลังประกาศใช้พระราชบัญญัติ กสทช.

วุฒิสภาไทย ลงมติให้ผ่านร่างพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (พ.ร.บ.กสทช.) ด้วยคะแนน 82 ต่อ 4 เสียง ซึ่งจะมีผลให้ในปี พ.ศ. 2558 เป็นต้นไป จะมีผลให้มีการเปลี่ยนจากคลื่นอนาล็อกเป็นดิจิตอล ซึ่งจะมีผลให้บริการโทรทัศน์แบบให้เปล่าของไทย เพิ่มจาก 6 เป็น 48 ช่องในอนาคต โดยส่วนมากจะใช้ระบบโทรทัศน์ความละเอียดสูง เท่าที่สามารถทำได้ก่อนในระยะแรก

โดยโทรทัศน์ในอนาคตที่จะใช้ระบบทีวีดิจิตอล จะมี 48ช่องโดยแบ่งเป็น ช่องเด็กและเยาวชน(SD)3ช่อง ช่องข่าว(SD)7ช่อง ช่องทั่วไป(SD)7ช่อง ช่องทั่วไปแบบคมชัดสูง(HD)7ช่อง ช่องทีวีชุมชนภูมิภาค 12ช่อง และช่องสาธารณะ12ช่อง โดยคาดว่าจะเริ่มประมูลได้ใน สิงหาคม กันยายน 2556

โดยช่อง 3 7 9ซึ่งเป็นช่องธุรกิจ จะต้องประมูลในช่องธุรกิจส่วนช่อง 5 11 ThaiPBS จะขอใบอนุญาติทีวีสาธารณะ

โดยคาดว่าช่องธุรกิจที่จะร่วมประมูล คือช่องทั่วไป 3 7 9 ทรู อินทัช อาร์เอส(ช่อง 8)เวิร์คพอยท์ แกรมมี่ กลุ่มอัมรินทร์ ไอพีเอ็ม พริ้นติ้ง เนชั่น ช่องเด็ก ช่อง 9 การ์ตูนคลับ แก๊งการ์ตูน เนชั่น

ช่องข่าว ช่อง9 เนชั่น สปริงนิวส์ เดลินิวส์ ไทยรัฐ TNN24

ดูเพิ่ม