ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โบซอน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: da:Boson
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีสนามควอนตัม]]
[[หมวดหมู่:ทฤษฎีสนามควอนตัม]]
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:หลักการสำคัญของฟิสิกส์]]

[[ar:بوزون]]
[[as:ব'ছন]]
[[ast:Bosón]]
[[be:Базон]]
[[bg:Бозон]]
[[bn:বোসন]]
[[bs:Bozon]]
[[ca:Bosó]]
[[cs:Boson]]
[[da:Boson]]
[[de:Boson]]
[[el:Μποζόνιο]]
[[en:Boson]]
[[eo:Bosono]]
[[es:Bosón]]
[[et:Bosonid]]
[[eu:Bosoi]]
[[fa:بوزون]]
[[fi:Bosoni]]
[[fr:Boson]]
[[ga:Bósón]]
[[gl:Bosón]]
[[he:בוזון]]
[[hi:बोसॉन]]
[[hr:Bozoni]]
[[hu:Bozon]]
[[hy:Բոզոն]]
[[id:Boson]]
[[is:Bóseind]]
[[it:Bosone (fisica)]]
[[ja:ボース粒子]]
[[kk:Бозон]]
[[ko:보손]]
[[la:Boson]]
[[lt:Bozonas]]
[[lv:Bozoni]]
[[mk:Бозон]]
[[ml:ബോസോൺ]]
[[mn:Бозон]]
[[ms:Boson]]
[[nds:Boson]]
[[nl:Boson (deeltje)]]
[[nn:Boson]]
[[no:Boson]]
[[or:ବୋଷନ]]
[[pl:Bozon]]
[[pnb:بوسون]]
[[pt:Bóson]]
[[ro:Boson]]
[[ru:Бозон]]
[[sh:Bozon]]
[[simple:Boson]]
[[sk:Bozón]]
[[sl:Bozon]]
[[sq:Bozoni]]
[[sr:Бозони]]
[[su:Boson]]
[[sv:Boson]]
[[szl:Bozůn]]
[[ta:போசான்]]
[[tl:Boson]]
[[tr:Bozon]]
[[uk:Бозон]]
[[ur:بوسون]]
[[uz:Bozon]]
[[vi:Boson]]
[[war:Boson]]
[[yo:Bósónì]]
[[zh:玻色子]]
[[zh-min-nan:Boson]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 22:41, 10 มีนาคม 2556

ในฟิสิกส์เชิงอนุภาค, โบซอน (อังกฤษ: boson) หมายถึง อนุภาคที่เป็นไปตาม สถิติแบบโบส-ไอน์สไตน์ มีสปินเป็นจำนวนเต็ม สามารถมีโบซอนหลายๆ ตัวอยู่ในสถานะควอนตัมเดียวกันได้ คำว่า "โบซอน" มาจากชื่อของนักวิทยาศาสตร์ชาวอินเดีย คือ สัตเยนทรานาถ โบส[1]

โบซอนมีลักษณะตรงกันข้ามกับเฟอร์มิออน ที่เป็นไปตาม สถิติแบบเฟอร์มี-ดิแรก เฟอร์มิออนตั้งแต่สองตัวหรือมากกว่านั้นจะไม่สามารถอยู่ในสถานะควอนตัมเดียวกันได้

โบซอนเป็นได้ทั้งอนุภาคมูลฐาน เช่น โฟตอน หรือเป็นอนุภาคประกอบ เช่น มีซอน โดยโบซอนส่วนมากจะเป็นอนุภาคแบบประกอบ โดยตาม "แบบจำลองมาตรฐานของฟิสิกส์เชิงอนุภาค" มีโบซอน 6 ชนิดที่เป็นอนุภาคมูลฐาน คือ

ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2555 องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป (CERN) ประกาศการค้นพบโบซอนชนิดใหม่ซึ่งเรียกได้ว่าเป็น "อนุภาคที่สอดคล้องกับอนุภาคฮิกส์" มากที่สุด โดยทางเซิร์นจะทำการตรวจสอบต่อไป[2][3]

โบซอนแบบอนุภาคประกอบ มีความสำคัญมากในการศึกษาของไหลยิ่งยวด และการประยุกต์ใช้ของเหลวผลควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ชนิดอื่นๆ

อ้างอิง

  1. "boson (dictionary entry)". Merriam-Webster's Online Dictionary. สืบค้นเมื่อ 2010-03-21.
  2. http://indico.cern.ch/conferenceDisplay.py?confId=196564
  3. http://press.web.cern.ch/press/PressReleases/Releases2012/PR16.12E.html