ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมอโรสโทมาทา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: war:Merostomata
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
[[หมวดหมู่:สัตว์ขาปล้อง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ขาปล้อง]]
[[หมวดหมู่:เมอโรสโทมาทา]]
[[หมวดหมู่:เมอโรสโทมาทา]]

[[az:Merostomata]]
[[be:Мерастомавыя]]
[[ca:Merostomat]]
[[ceb:Merostomata]]
[[cs:Hrotnatci]]
[[en:Merostomata]]
[[es:Merostomata]]
[[eu:Merostomata]]
[[fa:کلان‌کاسگان]]
[[fi:Tikaripyrstöt]]
[[fr:Merostomata]]
[[he:בעלי כליצרות ימיים]]
[[it:Merostomata]]
[[ja:カブトガニ綱]]
[[ka:კიბომორიელები]]
[[ko:퇴구강]]
[[la:Merostomata]]
[[lv:Merostomāti]]
[[nl:Merostomata]]
[[pl:Staroraki]]
[[pt:Merostomata]]
[[ro:Merostomata]]
[[ru:Меростомовые]]
[[simple:Merostomata]]
[[sk:Hrotnáče]]
[[sl:Praskrluparji]]
[[sr:Меростомата]]
[[sv:Merostomata]]
[[tr:Merostomata]]
[[uk:Меростомові]]
[[vi:Lớp Miệng đốt]]
[[war:Merostomata]]
[[zh:肢口綱]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:21, 10 มีนาคม 2556

เมอโรสโทมาทา
แมงดาทะเลเป็นสัตว์ในอันดับเมอโรสโทมาทาพวกเดียวที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Arthropoda
ไฟลัมย่อย: Chelicerata
ชั้น: Merostomata
อันดับ[1]

เมอโรสโทมาทา (ชื่อวิทยาศาสตร์: Merostomata) จัดอยู่ในประเภทสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมอาร์โธรโพดา ชั้นย่อยเชลิเซอราตา เป็นสัตว์น้ำที่แบ่งออกได้เป็น 2 อันดับ ได้แก่ Eurypterida หรือ แมงป่องทะเล ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว กับ Xiphosura หรือ แมงดาทะเล ที่ยังคงสืบเผ่าพันธุ์มาจนถึงปัจจุบัน โดยเมอโรสโมมาทาได้พัฒนาแยกออกมาจากอาร์โธรโพดาเมื่อกว่า 480 ล้านปีมาแล้ว [2]

แมงดาทะเล ในปัจจุบันเหลือเพียง 5 ชนิด จัดว่าเป็นเซริเชอราตาที่มีขนาดใหญ่ที่สุด มีความยาวถึง 60 เซนติเมตร ที่พบเป็นฟอสซิลยาวถึง 2 เมตร ด้านหลังของคาราเพชมีตาประกอบ 1 คู่ ด้านล่างของเซฟาโรทอแรกซ์เป็นที่ตั้งของระยางค์ทั้ง 6 คู่ โดยระยางค์ขา 3 คู่ มีลักษณะเป็นก้ามหนีบ ยกเว้นขาคู่สุดท้ายใช้ในการกวาดโคลน ทราย ปล้องส่วนท้องจะรวมกัน ด้านท้ายสุดจะยื่นยาวออกเป็นหาง ด้านล่างของส่วนท้องเป็นที่ตั้งของเหงือก 5 คู่ และมีแผ่นปิดเหงือก แมงดาทะเลเป็นสัตว์ที่ไม่เป็นอันตราย จะใช้ระยางค์ขาคู่สุดท้ายดันขุดดินไปด้านหลังเพื่อฝังตัวลงในโคลนหรือทราย การดำรงชีวิตเป็นทั้งกินพืชและกินซาก รวมทั้งสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่มีลำตัวอ่อนนุ่ม[3]

อ้างอิง

  1. จาก itis.gov (อังกฤษ)
  2. Davide Pisani, Laura L. Poling, Maureen Lyons-Weiler & S. Blair Hedges (2004). "The colonization of land by animals: molecular phylogeny and divergence times among arthropods". BMC Biology. 2: 1. doi:10.1186/1741-7007-2-1. PMC 333434. PMID 14731304.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  3. ์ไฟลัมอาร์โทรโปดา (PHYLUM ARTHROPODA)

แหล่งข้อมูลอื่น