ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ออร์กาโนคลอรีน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 9: บรรทัด 9:
*[http://www.chem.cmu.edu/groups/collins/about/members/colin_horwitz/hydro.html "The oxidation of chlorinated hydrocarbons" article from The Institute for Green Oxidation Chemistry at the Carnegie Mellon University website]
*[http://www.chem.cmu.edu/groups/collins/about/members/colin_horwitz/hydro.html "The oxidation of chlorinated hydrocarbons" article from The Institute for Green Oxidation Chemistry at the Carnegie Mellon University website]
[[หมวดหมู่:ออร์กาโนคลอรีน| ]]
[[หมวดหมู่:ออร์กาโนคลอรีน| ]]

[[ca:Organoclorat]]
[[de:Chlororganische Verbindungen]]
[[en:Organochloride]]
[[eo:Klorkarbonhidrogeno]]
[[es:Organoclorado]]
[[et:Klooritud süsivesinikud]]
[[fr:Composé organochloré]]
[[ja:有機塩素化合物]]
[[nl:Organochloorchemie]]
[[pt:Organoclorado]]
[[ru:Хлорорганические соединения]]
[[ta:ஆர்கனோகுளோரின்]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 17:20, 10 มีนาคม 2556

ออร์กาโนคลอรีนหรือออร์กาโนคลอไรด์ หรือตัวทำละลายที่มีคลอรีน เป็นสารอินทรีย์ที่มีพันธะโควาเลนต์ระหว่างคาร์บอนกับคลอรีนอย่างน้อย 1 พันธะ ทำให้สารกลุ่มนี้มีโครงสร้างที่กว้างมาก แต่สารกลุ่มนี้และอนุพันธ์มักส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

คุณสมบัติทางกายภาพ

คลอไรด์ทำให้สารกลุ่มนี้มีความหนาแน่นสูงกว่าน้ำ เพราะมีมวลโมเลกุลสูงกว่าสารที่มีโครงสร้างคล้ายกันแต่ไม่มีคลอรีน นอกจากนั้นพันธะโควาเลนต์กับคลอรีนจะแข็งแรงกว่าพันธะกับไฮโดรเจน ทำให้มีผลต่อจุดเดือด: มีเทน (-161.6 °C), เมทิลคลอไรด์(-24.2 °C), ไดคลอโรมีเทน (40 °C), chloroform (61.2 °C), และคาร์บอนเตตระคลอไรด์ (76.72 °C) ซึ่งทำให้เพิ่มทั้งแรงวันเดอร์วาลส์และความมีขั้ว

แหล่งข้อมูลอื่น