ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หน่วยไต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ZéroBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: ta:சிறுநீரகத்தி
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 44: บรรทัด 44:
{{โครงกายวิภาค}}
{{โครงกายวิภาค}}
[[หมวดหมู่:กายวิภาคของไต]]
[[หมวดหมู่:กายวิภาคของไต]]

[[ar:كليون]]
[[bg:Нефрон]]
[[bn:নেফ্রন]]
[[ca:Nefró]]
[[cs:Nefron]]
[[da:Nephron]]
[[de:Nephron]]
[[en:Nephron]]
[[es:Nefrona]]
[[et:Nefron]]
[[eu:Nefrona]]
[[fa:نفرون]]
[[fi:Nefroni]]
[[fr:Néphron]]
[[gl:Nefrón]]
[[he:נפרון]]
[[hr:Nefron]]
[[ht:Nefwon]]
[[it:Nefrone]]
[[ja:ネフロン]]
[[ko:콩팥단위]]
[[mk:Нефрон]]
[[ml:നെഫ്രോൺ]]
[[nl:Nefron]]
[[pl:Nefron]]
[[pt:Nefrónio]]
[[ro:Nefron]]
[[ru:Нефрон]]
[[simple:Nephron]]
[[sk:Nefrón]]
[[sl:Nefron]]
[[sv:Tubuli]]
[[ta:சிறுநீரகத்தி]]
[[tr:Nefron]]
[[uk:Нефрон]]
[[ur:کلیون]]
[[zh:腎單位]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:52, 10 มีนาคม 2556

หน่วยไต
(Nephron)
ภาพหน่วยไต(ภาพนี้ไม่มีจักซ์ตาโกลเมอรูลาร์ แอพพาราตัส
รายละเอียด
คัพภกรรมMetanephric blastema (intermediate mesoderm)
ตัวระบุ
ภาษาละตินnephroneum
MeSHD009399
FMA17640
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

หน่วยไต (อังกฤษ: nephron) เป็นโครงสร้างพื้นฐานและหน่วยทำงานพื้นฐานของไต มีหน้าที่หลักคือควบคุมสมดุลของสารน้ำและสารต่างๆ ในร่างกาย เช่นโซเดียม ผ่านการกรองเลือดที่ผ่านหน่วยไต ดูดกลับสารที่ต้องการ และขับสารที่ไม่ต้องการทิ้งผ่านทางปัสสาวะ หน้าที่ของหน่วยไตนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการทำงานของร่างกาย ซึ่งจะถูกควบคุมโดยระบบต่อมไร้ท่อผ่านทางฮอร์โมนต่างๆ เช่น ฮอร์โมนต้านการขับปัสสาวะ อัลโดสเตอโรน และพาราไทรอยด์ เป็นต้น[1]

ไตปกติข้างหนึ่งของมนุษย์จะมีหน่วยไตอยู่ประมาณ 800,000 ถึง 1.5 ล้านหน่วยไต[2]

กายวิภาค

โครงสร้างของ เนพฟรอน

โกลเมอรูลัส (glamerulus

เป็นกลุ่มเส้นเลือดฝอยที่นำสารมากรองออก มีลักษณะเป็นร่างแหสานกัน

โบว์แมนแคปซูล

เป็นส่วนของท่อของหลอดไตที่พองเป็นกระเปาะ คล้ายด้าย มีกลาเมอรูลัสอยู่ข้างใน

ท่อของหน่วยไต

อยู่ต่อจากโบว์แมนแคปซูล มี 3 ส่วนใหญ่ๆ

ท่อของส่วนต้น

เกิดการดูดสารเข้ากระแสเลือดมากที่สุด มีไมโทคอนเดรียเยอะ เพื่อใช้เป็นพลังงานในการดูดสาร

Hehle's loop

เป็นท่อขนาดเล็กโค้ง เป็นรูปตัวU ใช้ในการดูดสารกลับเช่นกัน มีไมโทรคอนเดรียน้อยกว่าท่อส่วนต้น

ท่อขดส่วนท้าย

มีลักษณะเป็นท่อเปิดของกรวยไต มีการกรองแล้วส่งไปกระเพาะปัสสาวะ

อ้างอิง

  1. Maton, Anthea (1993). Human Biology and Health. Englewood Cliffs, New Jersey, USA: Prentice Hall. ISBN 0-13-981176-1. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  2. Guyton, Arthur C.; Hall, John E. (2006). Textbook of Medical Physiology. Philadelphia: Elsevier Saunders. p. 310. ISBN 0-7216-0240-1. {{cite book}}: Cite ไม่รู้จักพารามิเตอร์ว่างเปล่า : |coauthors= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)