ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วงศ์ย่อยวัวและควาย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
[[หมวดหมู่:วงศ์ย่อยวัวและควาย]]
[[หมวดหมู่:วงศ์ย่อยวัวและควาย]]


[[az:Öküzlər]]
[[bg:Говеда]]
[[br:Bovinae]]
[[ca:Boví]]
[[cs:Tuři]]
[[da:Bovinae]]
[[de:Bovinae]]
[[en:Bovinae]]
[[eo:Bovenoj]]
[[es:Bovinae]]
[[eu:Bovinae]]
[[fa:گاویان]]
[[fi:Nautaeläimet]]
[[fr:Bovinae]]
[[gl:Bovinos]]
[[he:פרים]]
[[hr:Goveda]]
[[hu:Tulokformák]]
[[id:Bovinae]]
[[it:Bovinae]]
[[ja:ウシ亜科]]
[[jv:Bovinae]]
[[li:Rinder]]
[[lt:Jaučiai]]
[[lv:Vēršu apakšdzimta]]
[[nl:Runderen]]
[[no:Oksedyr]]
[[oc:Bovinae]]
[[pl:Bovinae]]
[[pt:Bovinos]]
[[ru:Быки]]
[[ru:Быки]]
[[scn:Buvini]]
[[simple:Bovinae]]
[[sv:Oxdjur]]
[[tl:Wangis-baka]]
[[tr:Sığırlar]]
[[uk:Бикові (підродина)]]
[[zh:牛亚科]]
[[zh-min-nan:Bovinae]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:39, 10 มีนาคม 2556

วงศ์ย่อยวัวและควาย
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ไมโอซีน-ปัจจุบัน
20–0Ma
จามรี (Bos grunniens) ที่สิกขิม
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Bovidae
วงศ์ย่อย: Bovinae
Gray, 1821
สกุล
10 สกุล ดูในเนื้อหา
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์

วงศ์ย่อยวัวและควาย เป็นวงศ์ย่อยของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดใหญ่ ในอันดับสัตว์กีบคู่ (Artiodactyla) ในวงศ์ใหญ่ Bovidae ใช้ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Bovinae

สัตว์ในวงศ์นี้มีลักษณะโดยรวม เป็นสัตว์ที่มนุษย์รู้จักเป็นอย่างดี คือ วัวและควาย ซึ่งใช้เลี้ยงเป็นปศุสัตว์และใช้แรงงานในการเกษตรกันมาอย่างยาวนาน ตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์[1] เป็นสัตว์ที่มีกล้ามเนื้อบึกบึนกำยำล่ำสัน เต็มไปด้วยพละกำลัง เขามีความโค้งและเรียวแหลมที่ปลาย มีเขาทั้งตัวผู้และตัวเมีย แต่บางกลุ่มที่มีลักษณะที่แตกต่างออกไป คือ คอยาว ขายาว มีลายขวางตามลำตัว อาจมีลายบนใบหน้า มีเขาบิดเป็นเกลียว ซึ่งมักพบเฉพาะในตัวผู้ แต่บางชนิดพบได้ทั้งตัวผู้และตัวเมีย [2]

พบกระจายพันธุ์ไปในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปอเมริกาใต้และโอเชียเนีย

แบ่งออกได้เป็น 10 สกุล ดังนี้

โดยชนิดที่เป็นสัตว์ป่าที่พบได้ในประเทศไทย ได้แก่ ควายป่า (Bubalus arnee), วัวแดง (Bos javanicus), กระทิง (B. gaurus) และกูปรี (B. sauveli) ซึ่งทุกชนิดเป็นสัตว์ป่าสงวนและสัตว์ป่าคุ้มครอง[6]

อ้างอิง

  1. หน้า 61, สัตว์สวยป่างาม โดยชมรมอนุรักษ์ธรรมชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล (สิงหาคม, พ.ศ. 2518)
  2. Michael et al., 2004. Grzimek’s Animal Life Encyclopedia 2nd ed. V. 16 : MammalsV.
  3. Pseudonovibos spiralis (อังกฤษ)
  4. Pseudoryx (อังกฤษ)
  5. จาก itis.gov (อังกฤษ)
  6. พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA