ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ว่าว"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ml:പട്ടം
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 66 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q42861 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 29: บรรทัด 29:
[[หมวดหมู่:ของเล่น]]
[[หมวดหมู่:ของเล่น]]
{{โครงวัฒนธรรม}}
{{โครงวัฒนธรรม}}

[[an:Milorcha]]
[[ang:Cȳta]]
[[ar:طائرة ورقية]]
[[az:Çərpələng]]
[[bg:Хвърчило]]
[[bjn:Kelayangan]]
[[bn:ঘুড়ি]]
[[bo:ཤོག་བྱ།]]
[[ca:Estel (màquina)]]
[[cs:Drak (předmět)]]
[[da:Drage (snorholdt)]]
[[de:Drachen]]
[[el:Χαρταετός]]
[[en:Kite]]
[[eo:Kajto]]
[[es:Cometa (juego)]]
[[eu:Haize parpaila]]
[[fa:بادبادک]]
[[fi:Leija]]
[[fr:Cerf-volant]]
[[gl:Papaventos]]
[[he:עפיפון]]
[[hi:पतंग]]
[[hu:Papírsárkány]]
[[id:Layang-layang]]
[[io:Kaito]]
[[is:Flugdreki]]
[[it:Aquilone]]
[[ja:凧]]
[[jv:Layangan]]
[[km:ខ្លែង]]
[[ko:연]]
[[la:Draco volans papyreus]]
[[lb:Fluchdraach]]
[[lt:Aitvaras]]
[[lv:Gaisa pūķis]]
[[ml:പട്ടം]]
[[mr:पतंग]]
[[ms:Layang-layang]]
[[my:စွန်လွှတ်ကစားခြင်း]]
[[nl:Vliegeren]]
[[nn:Drake i snor]]
[[no:Drage (leketøy)]]
[[pl:Latawiec]]
[[pt:Pipa (brinquedo)]]
[[ro:Zmeu (dispozitiv de zbor)]]
[[ru:Воздушный змей]]
[[scn:Cumerdia]]
[[simple:Kite]]
[[sl:Spuščanje zmajev]]
[[su:Langlayangan]]
[[sv:Drake (leksak)]]
[[ta:பட்டம்]]
[[te:గాలిపటం]]
[[tl:Saranggola]]
[[tr:Uçurtma]]
[[uk:Повітряний змій]]
[[ur:پتنگ]]
[[vi:Diều (đồ chơi)]]
[[vls:Plakwoaier]]
[[war:Manogbanog]]
[[za:Yiuhrumz]]
[[zea:Vliegere]]
[[zh:风筝]]
[[zh-classical:紙鳶]]
[[zh-yue:紙鷂]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:10, 10 มีนาคม 2556

ว่าวยักษ์ในญี่ปุ่น

ว่าว เป็นของเล่นชนิดหนึ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อให้ลอยอยู่ในอากาศได้ด้วยแรงลมและมีสายป่านคอยบังคับให้ลอยอยู่ในทิศทางที่ต้องการ โดยเริ่มจากประเทศจีนโดยใช้ไม้ไผ่และผ้าไหมเป็นอุปกรณ์ ต่อมาได้ประดิษฐ์ว่าวในหลายรูปแบบตามวัฒนธรรมของหลายประเทศ

ว่าวไทย

ในอดีตมีกล่าวอยู่ในพงศาวดารเหนือว่า พระร่วงทรงเล่นว่าวอย่างไม่ถือพระองค์ว่าเป็นท้าวพระยา ในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 – 2300) ก็มีการเล่นว่าวกันมากถึงกับมีกฎมณเพียรบาลห้ามมิให้ประชาชนเล่นว่าวทับพระราชวัง ต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ก็มีการเล่นว่าวดังเช่นในสมัย ก็มีการเล่นว่าว เช่นในรัชกาลที่ 5 ก็ทรงโปรดให้ใช้สถานที่ในพระราชวังดุสิต และสนามเสือป่าเป็นที่เล่นว่าวจุฬากับปักเป้า เป็นต้น ว่าวของไทยที่ทำขึ้นเล่นกันเป็นพื้นมีอยู่ 4 ชนิดด้วยกัน คือ ว่าวอีลุม ว่าวปักเป้า ว่าวจุฬา และว่าวตุ๋ยตุ่ย

ว่าวอีลุ้ม

มีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน มีไม้ไผ่เป็นโครงสองอันคือ อกและปีกอกจะสั้นกว่าปีกเล็กน้อย กระดาษที่ใช้ปิดทาบลงบนโครงนี้ คือกระดาษว่าว ซึ่งบางเป็นพิเศษ ส่วนปลายของปีกทั้งสองข้างจะติดพู่กระดาษเพื่อช่วยในการทรงตัว ในขณะที่ว่าวลอยอยู่ในอากาศ มีหางสำหรับถ่วงน้ำหนักป้องกันไม่ให้ว่าวส่ายไปมา

ว่าวปักเป้า

มีลักษณะเช่นเดียวกับว่าวอีลุม แต่ทว่าไม้ส่วนโครงที่เป็นปีกจะแข็งกว่าปีกของอีลุ้มมาก จึงต้องมีหางที่ทำด้วยผ้าเป็นเส้นยาวถ่วงอยู่ที่ส่วนก้น เมื่อชักขึ้นไปลอยอยู่ในอากาศแล้วจะไม่ลอยอยู่เฉยๆจะส่ายตัวไปมาน่าดูมากและเมือถูกคนชักกระตุกสายเชือกป่านตามวิธีการแล้ว มันจะเคลื่อนไหวโฉบเฉี่ยวไปมาท่าทางต่างๆตามต้องการ

ว่าวจุฬา

มีลักษณะเป็น 5 แฉก ประกอบเป็นโครงขึ้นด้วยไม้ 5 อัน นักเลงว่าวจะเสาะหาไม้ไผ่สีสุกที่มีปล้องยาวเรียว เรียกว่า “เพชรไม้” มาเหลา อันกลางเรียกว่า “อก” เหลาปลายเรียวหัวท้าย 1 อัน อีก 2 อัน ผูกขนาบตัวปลายให้จรดกันเป็นปีก และอีก 2 อัน เป็นขาว่าวเรียกว่า “ขากบ” จากนั้นขึงด้ายเป็นตารางตลอดตัวว่าว เรียกว่า “ผูกสัก” แล้วใช้กระดาษสาปิดทับลงบนโครง สำเร็จเป็นว่าวจุฬา ถ้าหากไม่ถูกสัดส่วนแล้ว ว่าวจะไม่อาจลอยตัวขึ้นได้เลย

ว่าวดุ้ยดุ่ย

มีรูปร่างแบบเดียวกับว่าวจุฬาแต่ขากบเป็นรูปเดียวกับปีก ติดอยู่ซ้อนกัน ส่วนบนใหญ่ส่วนล่างจะเล็ก สุดตัวตอนล่างมีไม้ขวางอีกอันหนึ่ง สำหรับผูกหาง ซึ่งมีสองหางช่วยในการทรงตัวเมื่อลอยขึ้นไปอยู่ในอากาศ ส่วนบนของหัว ไม้อันที่เป็นอกยื่นออกมาในราวหนึ่งคืบ เป็นเดือยในลักษณะสี่เหลี่ยมเพื่อเสียบที่ทำเสียง ซึ่งเป็นคันเหมือนที่ทำกระสุนหรือธนู ทำด้วยไม้ไผ่ เจาะรูให้เป็นสี่เหลี่ยม กึ่งกลางคันให้พอดีกับเดือยสี่เหลี่ยมที่ยื่นออกมา ตัวกลางที่ทำให้เกิดเสียงนั้น ใช้ไม้ไผ่หรือหวายเส้นโตๆ เหลาให้เป็นแผ่นบางๆ แล้วเอาปลายเชือกสองข้างผูกติดกับปลายคัน เมื่อติดเครื่องทำเสียงนี้แล้วก็จัดการให้ว่าวขึ้นไปลอยอยู่บนอากาศ ไม้ไผ่หรือหวายแผ่นบางๆที่ถูกขึงอยู่นั้น เมื่อสายลมมาปะทะ ก็จะพลิ้วตัว ทำให้เกิดเสียงดังตุ๋ยตุ่ยอยู่ตลอดเวลา ว่าวนี้ทำเล่นกันตามชนบท โดยมากพระเป็นผู้ทำ นิยมชักขึ้นในเวลากลางคืน

แหล่งข้อมูลอื่น