ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาร์เคีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก eo:Arkioj ไปเป็น eo:Arĥioj
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 84 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q10872 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 40: บรรทัด 40:
{{Link FA|ml}}
{{Link FA|ml}}
{{Link FA|ru}}
{{Link FA|ru}}

[[an:Archaea]]
[[ar:العتائق]]
[[ast:Archaea]]
[[az:Arxeyalar]]
[[ba:Архейҙар]]
[[be:Археі]]
[[be-x-old:Археі]]
[[bg:Археа]]
[[bn:আর্কিয়া]]
[[bs:Archaea]]
[[ca:Arqueobacteri]]
[[cs:Archea]]
[[cy:Archaea]]
[[da:Arkæer]]
[[de:Archaeen]]
[[el:Αρχαία]]
[[en:Archaea]]
[[eo:Arĥioj]]
[[es:Archaea]]
[[et:Arhed]]
[[eu:Arkeobakterio]]
[[fa:باستانیان]]
[[fi:Arkkieliöt]]
[[fiu-vro:Arheq]]
[[fr:Archaea]]
[[frr:Uurbakteerien]]
[[ga:Aircéach]]
[[gl:Archaea]]
[[gv:Archaea]]
[[he:ארכאונים]]
[[hi:आर्किया]]
[[hif:Archaea]]
[[hr:Archaea]]
[[ht:Akeyo]]
[[hu:Archeák]]
[[id:Arkea]]
[[is:Forngerlar]]
[[it:Archaea]]
[[ja:古細菌]]
[[jv:Archaea]]
[[kk:Архиа]]
[[ko:고세균]]
[[la:Archaea]]
[[lb:Archaeën]]
[[lez:Археяр]]
[[lij:Archaea]]
[[lt:Archėja]]
[[lv:Arheji]]
[[mk:Археи]]
[[ml:ആർക്കീയ]]
[[ms:Arkea]]
[[nds:Archaeen]]
[[new:आर्केया]]
[[nl:Archaea]]
[[nn:Arkar]]
[[no:Arkebakterier]]
[[oc:Archaea]]
[[pam:Archaea]]
[[pl:Archeony]]
[[pnb:ارکیا]]
[[pt:Archaea]]
[[qu:Ñawpa añaki]]
[[ro:Archaea]]
[[ru:Археи]]
[[sah:Архейдар]]
[[sh:Arheja]]
[[si:ආකියා]]
[[simple:Archaea]]
[[sk:Archeóny]]
[[sl:Arheje]]
[[sr:Археје]]
[[sv:Arkéer]]
[[sw:Archaea]]
[[ta:ஆர்க்கீயா]]
[[tl:Arkeya]]
[[tr:Arkea]]
[[tt:Архебактерияләр]]
[[uk:Археї]]
[[ur:عتائق]]
[[vi:Vi khuẩn cổ]]
[[war:Archaea]]
[[yi:ארכעען]]
[[zh:古菌]]
[[zh-min-nan:Kó͘-sè-khún]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 06:29, 10 มีนาคม 2556

อาร์เคีย
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: ยุคพาลีโออาร์เคียน
ฮาโลแบคทีเรีย NRC-1 ทุกเซลล์มีความยาว 5 โมโครเมตร
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
Superdomain: นีโอมูรา
โดเมน: อาร์เคีย
โวเซ, คานดเลอร์ และ วีลลิส, พ.ศ. 2533
อาณาจักร: Archaebacteria
ไฟลัม / ชั้น

ครีนาเคออตา
ยูร์ยาร์เคออตา
โคราเคออตา
นาโนอาร์เคออตา

อาร์เคีย เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะคล้ายแบคทีเรีย แต่เชื่อว่ามีวิวัฒนาการแยกมา เพราะมีเยื่อหุ้มเซลล์ที่แปลกออกไป เป็นโปรคาริโอตที่อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เลวร้ายและในมหาสมุทร ผนังเซลล์ไม่มีเปบทิโดไกลแคน กรดไขมันในเยื่อหุ้มแตกกิ่ง ไม่ไวต่อยาปฏิชีวนะ ยีนไม่มีอินทรอน RNA polymerase มีหลายชนิด บางส่วนเหมือนยูคาริโอต rRNA บางส่วนคล้ายกับของยูคาริโอตด้วยเช่นกัน กลุ่มของอาร์เคียที่สำคัญได้แก่

  • อาร์เคียที่อยู่ในสภาพเค็มจัด (extreme halophiles) เป็นอาร์เคียที่ชอบเจริญในบริเวณที่มีเกลือมาก เช่นในนาเกลือ ตัวอย่างเช่น Halobacterium halobium เป็นอาร์เคียที่สังเคราะห์แสงได้โดยใช้รงควัตถุสีม่วงที่เรียก แบคเทอริโอโรโดปซิน (bacteriorhodopsin)
  • อาร์เคียที่ชอบอากาศร้อนจัด (exthreme thermophilies) พบในน้ำที่มีอุณหภูมิสูงกว่า 100oC หรือในแหล่งน้ำที่เป็นกรด ทำให้แหล่งน้ำที่เป็นกรดมีสีเขียว ตัวอย่างเช่น Sulfolobus ซึ่งได้พลังงานจากการออกซิไดส์เหล็กและกำมะถัน
  • เมทาโนเจน (methanogen) เป็นกลุ่มสร้างก๊าซมีเทน อยู่ในสภาพไร้ออกซิเจน เช่นในน้ำลึก ในโคลนและในดินก้นบ่อ และอยู่ในทางเดินอาหารของสัตว์รวมทั้งมนุษย์ เป็นกลุ่มที่ไวต่อออกซิเจนที่สุด หากได้รับออกซิเจนจะตาย
แผนภูมิต้นไม้แบบวงกลม แสดงวงศ์วานวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตระบบเซลล์ โดยแบ่งตามอาณาจักรและโดเมน สีม่วงคือแบคทีเรีย สีเทาเข้มคืออาร์เคีย สีน้ำตาลคือยูแคริโอต โดยยูแคริโอตยังแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักรคือ สัตว์ (แดง) ฟังไจ (น้ำเงิน) พืช (เขียว) โครมาลวีโอลาตา (น้ำทะเล) และ โพรทิสตา (เหลืองทอง) โดยมีจุดศูนย์กลางคือ บรรพบุรุษร่วมที่ใกล้กันที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก (LUCA)

แหล่งข้อมูลอื่น


แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA