ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ริทึมแอนด์บลูส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
[[หมวดหมู่:ริทึมแอนด์บลูส์]]
[[หมวดหมู่:ริทึมแอนด์บลูส์]]


[[ar:ريذم أند بلوز]]
[[az:R&B]]
[[bat-smg:Rėtmabliozos]]
[[be:Рытм-н-блюз]]
[[bg:Ритъм енд блус]]
[[bn:রিদম এ্যান্ড ব্লুজ]]
[[br:Rhythm and blues]]
[[bs:R&B]]
[[ca:Rhythm and blues]]
[[cs:Rhythm and blues]]
[[cy:Rhythm a blŵs]]
[[da:Rhythm and blues]]
[[de:Rhythm and Blues]]
[[el:Rhythm and blues]]
[[en:Rhythm and blues]]
[[eo:Ritmenbluso]]
[[es:Rhythm and blues]]
[[et:Rütm ja bluus]]
[[eu:Rhythm and blues]]
[[fa:ریتم اند بلوز]]
[[fi:Rhythm and blues]]
[[fr:Rhythm and blues]]
[[fy:Rhythm and blues]]
[[ga:Ceol rithim agus gormacha]]
[[gl:Rhythm and blues]]
[[he:רית'ם אנד בלוז]]
[[hi:रिद्म एंड ब्लूज़]]
[[hif:Rhythm and blues]]
[[hr:Ritam i blues]]
[[hu:Rhythm and blues]]
[[id:R&B]]
[[is:Ryþmablús]]
[[it:Rhythm and blues]]
[[ja:リズム・アンド・ブルース]]
[[ka:რიტმ-ენდ-ბლუზი]]
[[ka:რიტმ-ენდ-ბლუზი]]
[[ko:리듬 앤 블루스]]
[[lt:Ritmenbliuzas]]
[[lv:R&B]]
[[mk:Ритам и блуз]]
[[ms:Rhythm and blues]]
[[my:ရစ်သမ် အန် ဘလူးစ်]]
[[nl:Rhythm-and-blues]]
[[nn:Rhythm and blues]]
[[no:Rhythm and blues]]
[[pl:Rhythm and blues]]
[[pt:Rhythm and blues]]
[[ro:Muzică rhythm and blues]]
[[ru:Ритм-н-блюз]]
[[sah:R&B]]
[[scn:Rhythm and blues]]
[[sh:Rhythm and blues]]
[[simple:Rhythm and blues]]
[[sk:Rhythm and blues]]
[[sl:Ritem in blues]]
[[sq:Rhythm and blues]]
[[sr:Ritam i bluz]]
[[sv:Rhythm and blues]]
[[sw:Rhythm na blues]]
[[ta:ரிதம் அண்ட் புளூஸ்]]
[[tl:Rhythm and blues]]
[[tr:Rhythm and Blues]]
[[uk:Ритм-енд-блюз]]
[[vi:Rhythm and blues]]
[[wa:Ritenblouze]]
[[yo:Orin Rhythm and blues]]
[[zh:节奏布鲁斯]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:04, 10 มีนาคม 2556

ริทึมแอนด์บลูส์ (อังกฤษ: Rhythm and Blues หรือรู้จักกันในชื่อ R&B, R'n'B, RnB) เป็นแนวเพลงที่ได้รับความนิยม โดยผสมผสานระหว่างเพลงแนว แจ๊ส กอสเปล และบลูส์ โดยเริ่มแรกจะเล่นโดยศิลปินแอฟริกัน-อเมริกัน

ประวัติ

คำว่า ริทึมแอนด์บลูส์ ถูกใช้ครั้งแรกในนิตยสารบิลบอร์ดโดย เจอรี่ เว็กซ์เลอร์ (Jerry Wexler) ในปี ค.ศ. 1947 แทนที่คำว่า Race Music ที่เคยถูกใช้มาก่อน

ในปี ค.ศ. 1948 บริษัท RCA Victor ได้เข้ามาทำการตลาดดนตรีคนผิวดำโดย ภายใต้ชื่อ Blues and Rhythm คำนี้ถูกกลับคำ โดยเว็กซ์เลอร์ ค่าย Atlantic Records ซึ่งเป็นผู้นำเพลงแนวอาร์แอนด์บีในยุคแรกๆ

ในปีช่วงยุค 1970 ริทึมแอนด์บลูส์ ได้ครอบคลุมนิยามกับแนว โซล (Soul) และ ฟังก์ (Funk) ในปัจจุบันนิยมเรียกอาร์แอนด์บี มากกว่าคำว่า ริทึมแอนด์บลูส์

ริทึมแอนด์บลูส์ มีที่มาก่อน ร็อก แอนด์ โรลล์ ได้รับอิทธิพลมาจากเพลงแนวแจ๊ส,จัมพ์บลูส์ และ แบล็กกอสเปล มีนักดนตรีแจ๊สหลายคนที่บันทึกเสียงทั้งเพลงแจ๊ส และ ริทึมแอนด์บลูส์ เช่นวงสวิงแบนด์ของ Jay McShann, Tiny Bradshaw และ Johnny Otis เป็นต้น และโดยส่วนมาก นักดนตรีในสตูดิโอที่ทำเพลงอาร์แอนด์บี จะเป็นนักดนตรีแจ๊ส

ในช่วงยุค 1950 ถือเป็นยุคคลาสสิกอาร์แอนด์บี มีการผสมแนวเพลงเข้าด้วยกันไม่ว่าจะเป็น แจ๊ส และ ร็อก แอนด์ โรลล์ เพลงแนวอาร์แอนด์บีถูกพัฒนาไปที่ต่างๆ เช่นในรัฐนิวออร์ลีนส์ มีการใช้เปียโนในเพลง ตัวอย่างเช่นศิลปินที่เป็นที่รู้จักอย่าง แฟท โดมิโน (Fats Domino) ในเพลงติดชาร์ท "Blueberry Hill" และเพลง "Ain't That a Shame" อีกที่ที่มีการพัฒนาของเพลงแนวอาร์แอนด์บีคือ ลุยเซียนา มีศิลปินเช่น Clarence "Frogman" Henry, Frankie Ford, Irma Thomas, The Neville Brothers และ Dr. John เป็นต้น

เพลง ร็อก แอนด์ โรลล์ ในรูปแบบของอาร์แอนด์บี ที่เป็นที่รู้จักเพลงแรกๆ เช่น "Rocket 88" และ "Shake, Rattle and Roll" ที่ขึ้นชาร์ททั้ง ป็อปชาร์ทและอาร์แอนด์บีชาร์ท

ช่วงต้นยุค 1960 เพลงแนวอาร์แอนด์บีมีแนวโน้มมีรูปแบบออกไปทางกอสเปลรวมถึงโซล มีศิลปินเช่น Ray Charles, Sam Cooke, และ James Brown และเริ่มมีศิลปินผิวขาวทำเพลงในแนวนี้ แต่จะเรียกว่า บลู-อายด์ โซล เช่น The Yardbirds, The Rolling Stones, The Pretty Things, The Small Faces, The Animals, The Spencer Davis Group และ The Who

ในช่วงกลางยุค 1970 คนผิวสีทำเพลงในแนวดิสโก้ ถือเป็นปรากฏการณ์ในสังคม เพลงแนวดิสโก้ได้รับความนิยมอย่างมาก พอช่วงยุค 80 เพลงดิสโก้ก็หายไป กลายเป็นเพลงช้าๆ ฟังสบายๆ ที่เรียกว่า quiet storm จนกระทั่งในปัจจุบันอาร์แอนด์บีได้เพิ่มแนวฮิปฮอป และ แร็ปอีก ซึ่งได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน

แหล่งข้อมูลอื่น