ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มาร์ติน ลูเทอร์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
EmausBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต เพิ่ม: pms:Martin Luter
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 59: บรรทัด 59:
{{Link GA|lt}}
{{Link GA|lt}}
{{Link GA|sv}}
{{Link GA|sv}}

[[af:Martin Luther]]
[[als:Martin Luther]]
[[an:Martín Lutero]]
[[ar:مارتن لوثر]]
[[arz:مارتين لوثر]]
[[ast:Martín Lutero]]
[[az:Martin Lüter]]
[[bar:Martin Luther]]
[[bat-smg:Martīns Lioteris]]
[[be:Марцін Лютэр]]
[[be-x-old:Мартын Лютэр]]
[[bg:Мартин Лутер]]
[[bi:Martin Luther]]
[[bn:মার্টিন লুথার]]
[[br:Martin Luther]]
[[bs:Martin Luther]]
[[ca:Martí Luter]]
[[ckb:مارتین لوتەر]]
[[cs:Martin Luther]]
[[cy:Martin Luther]]
[[da:Martin Luther]]
[[de:Martin Luther]]
[[diq:Martin Luther]]
[[el:Μαρτίνος Λούθηρος]]
[[en:Martin Luther]]
[[eo:Marteno Lutero]]
[[es:Martín Lutero]]
[[et:Martin Luther]]
[[eu:Martin Luther]]
[[ext:Martin Luther]]
[[fa:مارتین لوتر]]
[[fi:Martti Luther]]
[[fiu-vro:Lutheri Martin]]
[[fj:Martin Luther]]
[[fo:Martin Luther]]
[[fr:Martin Luther]]
[[fy:Maarten Luther]]
[[ga:Martin Luther]]
[[gan:馬丁·路德]]
[[gd:Martin Luther]]
[[gl:Martiño Lutero]]
[[hak:Mâ-tên Lu-tet]]
[[he:מרטין לותר]]
[[hi:मार्टिन लुथर]]
[[hif:Martin Luther]]
[[hr:Martin Luther]]
[[hsb:Martin Luther]]
[[hu:Luther Márton]]
[[hy:Մարտին Լյութեր]]
[[id:Martin Luther]]
[[ie:Martin Luther]]
[[ilo:Martin Luther]]
[[io:Martin Luther]]
[[is:Marteinn Lúther]]
[[it:Martin Lutero]]
[[ja:マルティン・ルター]]
[[jv:Martin Luther]]
[[ka:მარტინ ლუთერი]]
[[kk:Мартин Лютер]]
[[ko:마르틴 루터]]
[[ku:Martin Luther]]
[[la:Martinus Lutherus]]
[[lad:Martin Lutero]]
[[lb:Martin Luther]]
[[lmo:Martin Lüter]]
[[ln:Martin Luther]]
[[lt:Martin Luther]]
[[lv:Mārtiņš Luters]]
[[mk:Мартин Лутер]]
[[ml:മാർട്ടിൻ ലൂഥർ]]
[[mr:मार्टिन लुथर]]
[[mrj:Лӱтер, Мартин]]
[[ms:Martin Luther]]
[[mt:Martin Luteru]]
[[my:လူသာ၊ မာတင်]]
[[mzn:مارتین لوتر]]
[[nds:Martin Luther]]
[[nds-nl:Maarten Luther]]
[[ne:मार्टिन लूथर]]
[[nl:Maarten Luther]]
[[nn:Martin Luther]]
[[no:Martin Luther]]
[[nrm:Martîn Luthèr]]
[[oc:Martin Luther]]
[[pa:ਮਾਰਟਿਨ ਲੂਥਰ]]
[[pl:Marcin Luter]]
[[pms:Martin Luter]]
[[pnb:مارٹن لوتھر]]
[[pt:Martinho Lutero]]
[[qu:Martin Luther]]
[[rm:Martin Luther]]
[[ro:Martin Luther]]
[[ru:Лютер, Мартин]]
[[rue:Мартін Лутер]]
[[sa:मार्टिन लूथर]]
[[sc:Martin Lutero]]
[[scn:Martin Luteru]]
[[sh:Martin Luther]]
[[simple:Martin Luther]]
[[sk:Martin Luther]]
[[sl:Martin Luther]]
[[sm:Matini Luteru]]
[[sq:Martin Luther]]
[[sr:Мартин Лутер]]
[[sv:Martin Luther]]
[[sw:Martin Luther]]
[[szl:Martin Luter]]
[[ta:மார்ட்டின் லூதர்]]
[[te:మార్టిన్ లూథర్]]
[[tl:Martin Luther]]
[[tpi:Martin Luther]]
[[tr:Martin Luther]]
[[ty:Martin Luther]]
[[uk:Мартін Лютер]]
[[ur:مارٹن لوتھر]]
[[vec:Martin Lutero]]
[[vi:Martin Luther]]
[[war:Martin Luther]]
[[yi:מארטין לוטער]]
[[yo:Martin Luther]]
[[zh:馬丁·路德]]
[[zh-classical:馬丁·路德]]
[[zh-min-nan:Martin Luther]]
[[zh-yue:馬丁路德]]
[[zu:Martin Luther]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:22, 9 มีนาคม 2556

Martin Luther
Luther in 1533 by Lucas Cranach the Elder
เกิด10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1483(1483-11-10)
Eisleben, Saxony, Holy Roman Empire
เสียชีวิต18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1546(1546-02-18) (62 ปี)
Eisleben, Saxony, Holy Roman Empire
อาชีพMonk, Priest, Theologian
ผลงานเด่นThe Ninety-Five Theses, Luther's Large Catechism,
Luther's Small Catechism, On the Freedom of a Christian
คู่สมรสKatharina von Bora
บุตรHans (Johannes), Elisabeth, Magdalena, Martin, Paul, Margarethe
อิทธิพลPaul the Apostle, Augustine of Hippo
ได้รับอิทธิพลPhilipp Melanchthon, Lutheranism, John Calvin, Karl Barth
ลายเซ็น

มาร์ติน ลูเทอร์[1] (เยอรมัน: Martin Luther) (10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2026 - 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2088) เป็นหนึ่งในผู้ปฏิรูปศาสนาคริสต์ โดยแยกมาเป็นนิกายโปรเตสแตนต์ เพราะไม่เห็นด้วยกับคำสอนของคริสตจักรโรมันคาทอลิกบางข้อ โดยการปฏิรูปนี้เกิดขึ้นในยุคฟื้นฟูศิลปวิทยา เรียกว่าการปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์ นิกายที่ถือหลักเทววิทยาตามแนวคิดของลูเทอร์เรียกว่านิกายลูเทอแรนซึ่งเป็นนิกายย่อยในนิกายโปรเตสแตนต์

ประวัติ

มาร์ติน ลูเทอร์ เกิดที่เมือง ไอสเลเบน นครแซกโซนี ประเทศเยอรมนีเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน ค.ศ. 1483 บิดามารดาเป็นคนยากจนและไม่ได้รับศึกษา เมื่อเติบโตขึ้นก็ไม่มีเงินจะให้ลูเทอร์เข้าโรงเรียน ลูเทอร์ต้องเที่ยวร้องเพลงขอทานตามบ้านต่างๆ เพื่อหาเงินมาจ่ายค่าเล่าเรียนในโรงเรียน เผอิญมีหญิงมั่งคั่งคนหนึ่งเกิดความเมตตาได้ช่วยเหลือให้เข้าอยู่ในมหาวิทยาลัยเมื่อ ค.ศ. 1500

ลูเทอร์ได้ศึกษาเทววิทยา วรรณคดี ดนตรี และที่เอาใจใส่มากที่สุดคือกฎหมาย บิดาของลูเทอร์ก็ปรารถนาให้ลูเธอร์เป็นนักกฎหมาย แต่เมื่ออายุ 22 ปีเกิดเหตุการณ์หนึ่งคือเพื่อของลูเทอร์ถูกฆ่าตายในเวลาดวลต่อสู้กับบุคคลหนึ่ง ทำให้ลูเทอร์กลายเป็นคนกลัวผี ขี้ขลาด ต่อมาอีก 2-3 วันลูเทอร์จะเข้าประตูมหาวิทยาลัย ก็เกิดฝนตกฟ้าร้อง ฟ้าผ่ามาใกล้ๆ ลูเทอร์ได้อธิษฐานว่า ถ้ารอดพ้นไปได้จะบวชเป็นบาทหลวง ต่อมาในไม่ช้าในวันที่ 17 มกราคม ค.ศ.1505 ลูเธอร์ก็เข้าไปอยู่ในอารามคณะออกัสติเนียนในมหาวิทยาลัยวิตเทนบูร์ก ตั้งหน้าศึกษาคัมภีร์ไบเบิลอย่างเอาใจใส่ เป็นคนเฉลียวฉลาด พูดเก่ง จนในที่สุดก็ได้เป็นอาจารย์ในมหาวิทยาลัยนั้น

ในปี ค.ศ. 1511 ขณะที่ใช้ชีวิตอยู่ในอาราม ลูเทอร์ได้มีโอกาสไปแสวงบุญที่โรม และได้พบเห็นชีวิตของสันตะปาปาโอ่โถง หรูหราจนเกือบไม่มีกษัตริย์องค์ใดสู้ได้ และเห็นว่านักบวชไม่ควรดำเนินชีวิตอย่างนั้น

จนในปีค.ศ. 1515 สันตะปาปาเลโอที่ 20 อยากจะสร้างโบสถ์ให้งดงามสมตำแหน่งจึงได้ตั้งบัญญัติใหม่ว่า ถึงแม้จะทำความผิดเป็นอุกฉกรรจ์มหันตโทษเพียงไร ก็สามารถล้างบาปได้โดยซื้อใบฎีกาไถ่บาป และบรรดานายธนาคารทั้งหลายในประเทศต่างๆก็ตกลงเป็นเอเยนต์รับฝากเงินที่คนทั้งหลายจะชำระล้างบาปโดยไม่ต้องส่งไปโรม ลูเทอร์ได้เริ่มวิพากษ์วิจารณ์ และเรียกประชุมผู้รู้ทั้งหลายมาปรึกษา โต้เถียงกับบัญญัติใหม่

จนในปีค.ศ. 1517 เดือนตุลาคม ลูเทอร์ได้นำประกาศที่เรียกว่า "ญัตติ 95 ข้อ" (The 95 Theses) ไปปิดไว้ที่ประตู้หน้าโบสถ์เมืองวิตเทนบูร์ก ซึ่งมีเนื้อหาประณามการขายใบยกโทษบาปของสันตะปาปา และการกระทำที่เหลวแหลกอื่นๆ

ในเดือนมิถุนายน ค.ศ.1520 ลูเทอร์ได้รับหมาย ”การตัดขาดจากศาสนา” (Excommunication) โดยที่ลูเทอร์ต้องออกจากเขตปกครองของจักรพรรดิ ไปหลบที่วอร์มส์พร้อมกับผู้ติดตามอีกจำนวนหนึ่ง ที่นั่นท่านได้แปลพันธสัญญาใหม่เป็นภาษาเยอรมัน และได้เขียนงานเกี่ยวกับพิธีกรรมต่างๆ ซึ่งมีทั้งพิธีมิสซาและศีลศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งลูเทอร์ตั้งใจที่จะให้ชาวบ้านซึ่งไม่เข้าใจภาษาละติน สามารถเข้าถึงหลักคำสอนและมีส่วนร่วมในพิธีกรรมต่างๆได้

ผลงานของลูเทอร์นี้ได้สร้างคุณประโยชน์แก่ผู้ที่ไม่รู้หนังสือละตินได้มีโอกาสเข้าใจแก่นแท้ของศาสนาได้ด้วยตนเอง ซึ่งตรงกับจุดประสงค์ของลูเธอร์ที่ต้องการให้บุคคลสามารถ รับผิดชอบในความเชื่อของตน โดยไม่ต้องอาศัยบุคคลที่ 3 เช่น นักบวช กฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในศาสนาเป็นเพียงสิ่งเปลือกนอกที่ไม่สำคัญเท่ากับการที่บุคคลนั้นได้เผชิญหน้าต่อพระพักตร์พระเจ้าด้วยตนเอง นิกายนี้จึงได้ตัดประเพณี พิธีกรรม ตลอดจนศีลศักดิ์สิทธิ์บางเรื่องออกไปเหลือแต่ศีลล้างบาปและศีลมหาสนิท และสนับสนุนให้บุคคลเอาใจใส่ต่อพระคัมภีร์ ซึ่งเชื่อว่าเป็นพระวจนะของพระเจ้า ที่ทำให้มนุษย์เข้าถึงความรอดส่วนบุคคลภายในโบสถ์ของโปรเตสแตนต์จึงไม่มีรูปเคารพและศิลปกรรมที่ตกแต่งดังเช่นโบสถ์คาทอลิก บนแท่นบูชามีเพียงพระคัมภีร์เท่านั้นที่เป็นสื่อกลางระหว่างมนุษย์กับพระเจ้า ส่วนอื่น ๆ ที่นอกเหนือไปจากนี้เป็นเพียงเปลือกนอกที่มาจากตัณหาของมนุษย์ และทำให้เราเกิดความยึดถือยึดติดไม่สามารถเข้าถึงพระเจ้าได้

อ้างอิง

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, ราชบัณฑิตยสถาน, 2548, หน้า 323

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA แม่แบบ:Link GA