ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝ่ายบริหารกลางทิเบต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
[[หมวดหมู่:ทิเบต]]
[[หมวดหมู่:ทิเบต]]
{{โครงการเมือง}}
{{โครงการเมือง}}

[[ca:Administració Central Tibetana]]
[[cs:Ústřední tibetská správa]]
[[cy:Gweinyddiaeth Ganolog Tibet]]
[[da:Tibetanske eksilregering]]
[[de:Tibetische Exilregierung]]
[[en:Central Tibetan Administration]]
[[eo:Ekzilita tibeta registaro]]
[[es:Administración Central Tibetana]]
[[fi:Tiibetin pakolaishallitus]]
[[fr:Administration centrale tibétaine]]
[[he:הממשלה הטיבטית הגולה]]
[[hu:Központi Tibeti Adminisztráció]]
[[id:Pemerintahan Tibet Pusat]]
[[it:Governo tibetano in esilio]]
[[ja:ガンデンポタン]]
[[ko:티베트 망명 정부]]
[[lt:Centrinė Tibeto administracija]]
[[nl:Tibetaanse regering in ballingschap]]
[[pl:Centralny Rząd Tybetański]]
[[pt:Administração Central Tibetana]]
[[ru:Правительство Тибета в изгнании]]
[[sk:Ústredná tibetská správa]]
[[sv:Centrala tibetanska administrationen]]
[[tl:Pamahalaang Sentral ng Tibet]]
[[uk:Центральна Тибетська Адміністрація]]
[[vi:Chính phủ lưu vong Tây Tạng]]
[[zh:西藏流亡政府]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:51, 9 มีนาคม 2556

ฝ่ายบริหารกลางทิเบต หรือ ฝ่ายบริหารกลางทิเบตขององค์ทะไลลามะ (อังกฤษ: Central Tibetan Administration, CTA; หรือ Central Tibetan Administration of His Holiness the Dalai Lama) เป็นรัฐบาลพลัดถิ่น นำโดย "เทนซิน กยัตโส" ทะไลลามะองค์ที่ 14 จุดยืนขององค์กรนี้คือ ทิเบตเป็นชาติอิสระที่มีเอกราชมายาวนาน มิใช่ส่วนหนึ่งของจีน ปัจจุบันแม้ว่าทิเบตจะยังไม่ได้รับเอกราช แต่ก็ได้สิทธิปกครองตนเองเช่นเดียวกับฮ่องกง

กองบัญชาการใหญ่ของรัฐบาลพลัดถิ่นนี้อยู่ที่ธรรมศาลาในอินเดีย ที่ทะไลลามะจัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2502 หลังจากการจลาจลเพื่อต่อต้านจีนล้มเหลว ดินแดนทิเบตในความหมายของรัฐบาลพลัดถิ่นนี้ ได้แก่เขตปกครองตนเองทิเบต มณฑลชิงไห่ และบางส่วนของมณฑลใกล้เคียงคือ กันซู เสฉวน และยูนนาน ซึ่งถือเป็นดินแดนของทิเบตในประวัติศาสตร์ รัฐบาลพลัดถิ่นนี้ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลอินเดียให้เข้ามาดูแลชุมชนชาวทิเบตราว 100,000 คนที่ลี้ภัยอยู่ในอินเดียภาคเหนือ อย่างไรก็ตาม ไม่มีประเทศใดยอมรับว่ารัฐบาลพลัดถิ่นของทิเบตเป็นรัฐบาล

ในปี พ.ศ. 2544 ชุมชนชาวทิเบตทั่วโลกได้มีการเลือกตั้งตำแหน่งนายกรัฐมนตรี (ทิเบต: བཀའ་བློན་ཁྲི་པའ་, Kalon Tripa) โดยผู้ที่ได้รับเลือกตั้งคือ "ลอบซัง เทนซิน" พระภิกษุวัย 62 ปี ซึ่งเป็นการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตยครั้งแรกในประวัติศาสตร์ทิเบต