ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมเมนตัม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TjBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2) (โรบอต เพิ่ม: sn:Runhanhira
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 71 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q41273 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 104: บรรทัด 104:
[[หมวดหมู่:กลศาสตร์ภาวะต่อเนื่อง]]
[[หมวดหมู่:กลศาสตร์ภาวะต่อเนื่อง]]
[[หมวดหมู่:การเคลื่อนที่]]
[[หมวดหมู่:การเคลื่อนที่]]

[[ar:زخم الحركة]]
[[az:İmpuls]]
[[be:Імпульс]]
[[be-x-old:Імпульс]]
[[bg:Импулс (механика)]]
[[bn:ভরবেগ]]
[[bs:Količina kretanja]]
[[ca:Quantitat de moviment]]
[[ckb:ڕاوەش]]
[[cs:Hybnost]]
[[cy:Momentwm]]
[[da:Impuls (fysik)]]
[[de:Impuls]]
[[el:Ορμή]]
[[en:Momentum]]
[[eo:Movokvanto]]
[[es:Cantidad de movimiento]]
[[et:Impulss]]
[[eu:Momentu lineal]]
[[fa:تکانه]]
[[fi:Liikemäärä]]
[[fr:Quantité de mouvement]]
[[fy:Ympuls (natuerkunde)]]
[[gl:Cantidade de movemento]]
[[he:תנע]]
[[hi:संवेग (भौतिकी)]]
[[hr:Količina gibanja]]
[[ht:Elan]]
[[hu:Lendület]]
[[hy:Իմպուլս (շարժման քանակ)]]
[[id:Momentum]]
[[is:Skriðþungi]]
[[it:Quantità di moto]]
[[ja:運動量]]
[[jv:Momèntum]]
[[ka:იმპულსი]]
[[kk:Дене импульсі]]
[[ko:운동량]]
[[lt:Judesio kiekis]]
[[lv:Impulss]]
[[mk:Импулс (механика)]]
[[ml:ആക്കം]]
[[mn:Момент]]
[[mr:संवेग]]
[[ms:Momentum]]
[[my:အဟုန်]]
[[nds:Impuls (Physik)]]
[[nl:Impuls (natuurkunde)]]
[[nn:Rørslemengd]]
[[no:Bevegelsesmengde]]
[[pl:Pęd (fizyka)]]
[[pms:Quantità ëd moviment]]
[[pnb:مومنٹم]]
[[pt:Momento linear]]
[[ro:Impuls]]
[[ru:Импульс]]
[[si:ගම්‍යතාවය]]
[[simple:Momentum]]
[[sk:Hybnosť]]
[[sl:Gibalna količina]]
[[sn:Runhanhira]]
[[sq:Vrulli]]
[[sr:Импулс]]
[[su:Moméntum]]
[[sv:Rörelsemängd]]
[[ta:உந்தம்]]
[[tr:Momentum]]
[[uk:Імпульс]]
[[vi:Động lượng]]
[[zh:动量]]
[[zh-min-nan:Ūn-tōng-liōng]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:34, 9 มีนาคม 2556

โมเมนตัม หมายถึง ความสามารถในการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างมวลและความเร็วของวัตถุ มวลเป็นปริมาณสเกลาร์ แต่ความเร็วเป็นปริมาณเวกเตอร์ เมื่อนำปริมาณทั้งสองเข้าคูณด้วยกัน ถือว่าปริมาณใหม่เป็นปริมาณเวกเตอร์เสมอ ฉะนั้นโมเมนตัมจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ คือมีทั้งขนาดและทิศทาง

โมเมนตัมในกลศาสตร์ดั้งเดิม

ถ้าวัตถุเคลื่อนที่อยู่ในกรอบอ้างอิงใด ๆ ก็ตาม วัตถุนั้นจะมีโมเมนตัมอยู่ในกรอบอ้างอิงนั้น ๆ ค่าของโมเมนตัมของวัตถุจะขึ้นอยู่กับสองตัวแปร คือมวลกับความเร็วดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งสองเขียนได้เป็น:

โมเมนตัม = มวล × ความเร็ว

ในวิชาฟิสิกส์ สัญลักษณ์ของโมเมนตัมคือตัวอักษร p ดังนั้นอาจเขียนสมการข้างบนใหม่ได้เป็น:

โดยที่ m แทนมวล และ v แทนความเร็ว หน่วยเอสไอของโมเมนตัม คือ กิโลกรัม เมตรต่อวินาที (kg m/s) ความเร็วของวัตถุจะให้ทั้งขนาด (อัตราเร็ว) และทิศทาง โมเมนตัมของวัตถุขึ้นอยู่กับความเร็ว จึงทำให้เป็นปริมาณเวกเตอร์

การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุ เราเรียกว่า การดล ซึ่งหาได้จาก มวล × การเปลี่ยนแปลงความเร็ว หรือ แรงที่กระทำต่อวัตถุ × เวลาที่แรงนั้นกระทำ

กฎการอนุรักษ์โมเมนตัม และการชน

โมเมนตัมมีสมบัติพิเศษนั่นก็คือจะถูกอนุรักษ์อยู่เสมอ (ไม่เพิ่มขึ้น และในขณะเดียวกันก็ไม่ลดหายไป) แม้แต่ในการชน พลังงานจลน์นั้นจะไม่ถูกอนุรักษ์ในการชน ถ้าการชนนั้นเป็นการชนแบบไม่ยืดหยุ่น เนื่องจากการคงตัวของโมเมนตัมที่กล่าวมาแล้ว จึงทำให้สามารถนำไปคำนวณความเร็วที่ไม่ทราบค่าภายหลังการชนได้

ปัญหาในวิชาฟิสิกส์ที่จะต้องใช้ความจริงที่กล่าวมานี้ ก็คือการชนกันของสองอนุภาค โดยผลรวมของโมเมนตัมก่อนการชนจะต้องเท่ากับผลรวมของโมเมนตัมหลังการชนเสมอ

โดยที่ตัวห้อย i แสดงถึงก่อนการชน และตัวห้อย f แสดงถึงหลังการชน

โดยปกติ เราจะทราบเพียงความเร็วก่อนการชน หรือหลังการชน ไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง และต้องการที่จะทราบความเร็วอีกตัวหนึ่ง การแก้ไขปัญหานี้อย่างถูกต้องจะทำให้เราทราบว่าการชนนั้นเป็นอย่างไร การชนนั้นมีสองประเภท ดังต่อไปนี้

การชนทั้งสองประเภทที่ได้กล่าวมานี้ เป็นการชนที่อนุรักษ์โมเมนตัมทั้งหมด

การชนแบบยืดหยุ่น

การชนกันของลูกสนุ้กเกอร์สองลูก เป็นตัวอย่างหนึ่งของการชนแบบยืดหยุ่น นอกเหนือจากที่โมเมนตัมรวมกันก่อนชนต้องเท่ากับโมเมนตัมรวมกันหลังชนแล้ว ผลรวมของพลังงานจลน์ก่อนการชนจะต้องเท่ากับผลรวมของพลังงานจลน์หลังการชนด้วย

เนื่องจากตัวประกอบ 1/2 มีอยู่แล้วทุก ๆ พจน์ จึงสามารถนำออกไปได้

การชนแบบพุ่งตรง (การชนในหนึ่งมิติ)

ในกรณีที่วัตถุพุ่งเข้าชนกันแบบเต็ม ๆ เป็นทางตรง เราสามารถหาความเร็วปลายได้เป็น


การชนแบบไม่ยืดหยุ่น

ตัวอย่างที่พบเห็นได้ของการชนแบบไม่ยืดหยุ่น คือการที่วัตถุชนแล้วติดกัน (ไถลไปด้วยกัน) สมการต่อไปนี้จะแสดงการอนุรักษ์โมเมนตัม

การเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

ในกลศาสตร์ดั้งเดิม การดลจะเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมของวัตถุ โดยการดลมีหน่วยและมิติเหมือนโมเมนตัมทุกประการ หน่วยเอสไอของการดลนั้นเหมือนกับหน่วยของโมเมนตัม (กิโลกรัม เมตร/วินาที) การดลสามารถคำนวณได้จากปริพันธ์ของแรงกับเวลา

โดยที่

I แทนการดล หน่วยเป็นกิโลกรัม เมตรต่อวินาที
F แทนแรง หน่วยเป็นนิวตัน
t เป็นเวลา หน่วยเป็นวินาที

หากมีแรงคงตัว การดลมักจะเขียนเป็น

โดยที่

เป็นเวลาที่แรง F กระทำ

จากนิยามของแรง

ทำให้ได้ว่าการดลคือการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • Halliday, David (1960–2007). Fundamentals of Physics. John Wiley & Sons. Chapter 9. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help); ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |nopp= ถูกละเว้น แนะนำ (|no-pp=) (help)CS1 maint: date format (ลิงก์)
  • Serway, Raymond; Jewett, John (2003). Physics for Scientists and Engineers (6 ed.). Brooks Cole. ISBN 0-534-40842-7
  • Stenger, Victor J. (2000). Timeless Reality: Symmetry, Simplicity, and Multiple Universes. Prometheus Books. Chpt. 12 in particular.
  • Tipler, Paul (1998). Physics for Scientists and Engineers: Vol. 1: Mechanics, Oscillations and Waves, Thermodynamics (4th ed.). W. H. Freeman. ISBN 1-57259-492-6
  • Hand, Louis N.; Finch, Janet D. Analytical Mechanics. Cambridge University Press. Chapter 4. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |nopp= ถูกละเว้น แนะนำ (|no-pp=) (help)

แหล่งข้อมูลอื่น