ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประชาธิปไตยโดยตรง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Luckas-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: mk:Непосредна демократија
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 23: บรรทัด 23:
[[หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง]]
[[หมวดหมู่:ปรัชญาการเมือง]]
[[หมวดหมู่:การปกครองตนเอง]]
[[หมวดหมู่:การปกครองตนเอง]]

[[an:Democracia directa]]
[[ar:ديمقراطية مباشرة]]
[[bg:Пряка демокрация]]
[[ca:Democràcia directa]]
[[cs:Přímá demokracie]]
[[da:Direkte demokrati]]
[[de:Direkte Demokratie]]
[[el:Άμεση δημοκρατία]]
[[en:Direct democracy]]
[[eo:Rekta demokratio]]
[[es:Democracia directa]]
[[et:Otsedemokraatia]]
[[fa:دموکراسی مستقیم]]
[[fi:Suora demokratia]]
[[fr:Démocratie directe]]
[[gl:Democracia directa]]
[[he:דמוקרטיה ישירה]]
[[hr:Izravna demokracija]]
[[hu:Közvetlen demokrácia]]
[[id:Demokrasi langsung]]
[[is:Beint lýðræði]]
[[it:Democrazia diretta]]
[[ja:直接民主制]]
[[ko:직접 민주제]]
[[ln:Demokrasi alimá]]
[[lt:Tiesioginė demokratija]]
[[mk:Непосредна демократија]]
[[nl:Directe democratie]]
[[nn:Direktedemokrati]]
[[no:Direkte demokrati]]
[[pl:Demokracja bezpośrednia]]
[[pt:Democracia direta]]
[[ro:Democrație directă]]
[[ru:Прямая демократия]]
[[scn:Dimucrazzia diretta]]
[[simple:Direct democracy]]
[[sk:Priama demokracia]]
[[sl:Neposredna demokracija]]
[[sr:Neposredna demokratija]]
[[sv:Direkt demokrati]]
[[sw:Demokrasia ya moja kwa moja]]
[[ta:நேரடி மக்களாட்சி]]
[[tr:Doğrudan demokrasi]]
[[uk:Пряма демократія]]
[[vi:Dân chủ trực tiếp]]
[[zh:直接民主制]]
[[zh-yue:直接民主]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:25, 9 มีนาคม 2556

ประชาธิปไตยทางตรงหรือประชาธิปไตยบริสุทธิ์[1] เป็นรูปแบบการปกครองซึ่งประชาชนออกเสียงในการริเริ่มนโยบายต่าง ๆ โดยตรง ซึ่งขัดกับประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนตรงที่ประชาชนออกเสียงเลือกผู้แทนไปทำหน้าที่ออกเสียงการริเริ่มนโยบายออกทอดหนึ่ง[2] ประชาธิปไตยทางตรงอาจนำมาซึ่งการผ่านการตัดสินใจบริหาร, เสนอกฎหมาย, เลือกตั้งหรือถอดถอนเจ้าหน้าที่และดำเนินการไต่สวน ประชาธิปไตยทางตรงหลัก ๆ สองรูปแบบมีประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมและประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ

หลายประเทศซึ่งปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนอนุญาตรูปแบบการปฏิบัติทางการเมืองสามรูปแบบซึ่งให้ประชาธิปไตยทางตรงอย่างจำกัด ได้แก่ การลงประชามติ, การริเริ่มออกกฎหมาย และการถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้ง การลงประชามติอาจรวมความสามารถที่จะจัดการออกเสียงมีผลผูกมัดว่ากฎหมายฉบับหนึ่ง ๆ ควรถูกปฏิเสธหรือไม่ ด้วยวิธีการนี้จึงเป็นการให้สิทธิแก่ประชากรซึ่งจัดการออกเสียงเลือกตั้งวีโตกฎหมายซึ่งผู้ได้รับเลือกตั้งลงมติยอมรับ ประเทศหนึ่งที่ใช้ระบบนี้คือ สวิตเซอร์แลนด์ การริเริ่มออกกฎหมาย ซึ่งตามปกติแล้วสมาชิกสาธารณะทั่วไปเป็นผู้เสนอ ผลักดันการพจารณากฎหมาย (โดยปกติในการลงประชามติตามมา) โดยปราศจากการปรึกษากับผู้แทนที่ได้รับเลือกตั้ง หรือแม้จะขัดกับการคัดค้านที่แสดงออกของพวกเขา การถอดถอนผู้ได้รับเลือกตั้งให้อำนาจแก่สาธารณะในการถอดถอนเจ้าหน้าที่จากตำแหน่งก่อนสิ้นสุดวาระ แม้กรณีนี้จะหายากมากในประชาธิปไตยสมัยใหม่[3] ผู้เขียนซึ่งสนับสนุนอนาธิปไตยได้แย้งว่า ประชาธิปไตยทางตรงไม่ยอมรับองค์กรกลางที่เข้มแข็ง เพราะอำนาจการตัดสินใจสามารถอยู่ได้ระดับเดียวเท่านั้น คือ อยู่กับประชาชนหรือกับองค์กรกลาง[4]

อ้างอิง

  1. A. Democracy in World Book Encyclopedia, World Book Inc., 2006. B. Pure democracy entry in Merriam-Webster Dictionary. C. Pure democracy entry in American Heritage Dictionary"
  2. Budge, Ian (2001). "Direct democracy". Encyclopedia of Political Thought. Taylor & Francis. ISBN 9780415193962. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |editors= ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=) (help)
  3. Fiskin 2011, Chapters 2 & 3.
  4. Ross 2011, Chapter 3

บรรณานุกรม