ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กากยวี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธแบบทิเบต]]
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธแบบทิเบต]]
[[หมวดหมู่:นิกายในศาสนาพุทธมหายาน|กาจู]]
[[หมวดหมู่:นิกายในศาสนาพุทธมหายาน|กาจู]]

[[bg:Кагю]]
[[bo:བཀའ་བརྒྱུད་པ།]]
[[cs:Kagjüpa]]
[[cy:Kagyupa]]
[[de:Kagyü]]
[[dz:བཀའ་བརྒྱུད་པ]]
[[en:Kagyu]]
[[es:Kagyu]]
[[fi:Kagyu]]
[[fr:Kagyüpa]]
[[he:קאג'יו]]
[[id:Kagyu]]
[[it:Kagyu]]
[[ja:カギュ派]]
[[lt:Kagjupa]]
[[nl:Kagyü]]
[[no:Kagyu]]
[[pl:Kagju]]
[[pt:Kagyu]]
[[ru:Кагью]]
[[simple:Kagyu]]
[[sk:Kagjü]]
[[sv:Kagyü]]
[[uk:Каг'ю]]
[[vi:Ca-nhĩ-cư phái]]
[[zh:噶舉派]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:51, 9 มีนาคม 2556

นิกายกาจู หรือ กาจูปะ เป็นนิกายสำคํญนิกายหนึ่งของพุทธศาสนาในทิเบต มีที่มาจากอาจารย์มาร์ปะ โชคี โลโด และ อาจารย์ ทุงโป ญาลจอร์ ซึ่งเดินทางไปศึกษาพุทธศาสนานิกายตันตระในอินเดียและเนปาล ศิษย์ที่สืบทอดความรู้และนำมาเผยแพร่ในทิเบตคือมิลาเรปะ คำสอนของนิกายนี้มีทั้งสายสมาธิและสายการฝึกฝนทางปรัชญา

นิกายย่อย

นิกายกาจูแบ่งย่อยได้อีกเป็น 4 นิกายคือ

  1. เซลปะกาจู ริเริ่มโดย ซางยูดักปะ ซอนดู ดักปะ
  2. บารอมกาจู ริเริ่มโดย บารอมทรมาวังจุก ผู้สร้างวัดบารอม
  3. ฟักดูกาจู ริเริ่มโดย ฟักโม ทรูปะ ดอร์เจ กยัลโป นิกายนี้แตกย่อยได้อีกเป็น 8 นิกายแต่เหลือในปัจจุบันเพียง 3 นิกายคือ นิกายดรุกปะ นิกายดรีกุง และซังปะกาจู ส่วนนิกายที่เหลือถูกลืนเข้ากับนิกายอื่น
  4. กรรมะกาจู ริเริ่มโดย ดุสุม เค็มปะ นิกายนี้มีการสืบทอดตำแหน่งผู้นำโดยการกลับชาติมาเกิด

คำสอน

นิกายกาจูมีหลักปฏิบัติเฉพาะนิกายคือ โยคะทั้ง 6 ของนโรปะ จักรสัมภวะ มหากาล มหามุทรา ความแตกต่างของแต่ละนิกายย่อยอยู่ที่วิธีการสอนของอาจารย์ การศึกษาของพระสงฆ์ในนิกายนี้ เน้นเรื่องปัญญาบารมี มาธยมิก การรับรู้ที่ถูกต้อง พระวินัย และปรากฏการณ์วิทยา

อ้างอิง

  • ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์ ษัฏเสน. พระพุทธศาสนาแบบทิเบต. [ม.ป.ท.] : ศูนย์ไทยธิเบต, 2538.