ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นักเขียนบท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มหมวดหมู่
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 12: บรรทัด 12:
[[หมวดหมู่:อาชีพการเขียน]]
[[หมวดหมู่:อาชีพการเขียน]]
[[หมวดหมู่:นักเขียนบท]]
[[หมวดหมู่:นักเขียนบท]]

[[an:Guionista]]
[[ast:Guionista]]
[[bg:Сценарист]]
[[ca:Guionista]]
[[da:Manuskriptforfatter]]
[[el:Σεναριογράφος]]
[[en:Screenwriter]]
[[es:Guionista]]
[[fa:فیلم‌نامه‌نویس]]
[[fi:Elokuvakäsikirjoittaja]]
[[fr:Scénariste]]
[[he:תסריטאי]]
[[hr:Scenarist]]
[[hu:Forgatókönyvíró]]
[[hy:Սցենարիստ]]
[[is:Handritshöfundur]]
[[ja:脚本家]]
[[ko:각본가]]
[[nl:Scenarioschrijver]]
[[pl:Scenarzysta]]
[[pt:Roteirista]]
[[ro:Scenarist]]
[[ru:Сценарист]]
[[simple:Screenwriter]]
[[sq:Skenaristi]]
[[sv:Manusförfattare]]
[[tr:Senarist]]
[[uk:Сценарист]]
[[vi:Nhà biên kịch]]
[[yi:סצענאר שרייבער]]
[[zh:編劇]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 13:44, 9 มีนาคม 2556

นักเขียนบท หมายถึง บุคคลในอาชีพ คนทำงานด้านภาพยนตร์ ที่ทำหน้าที่เขียนบทภาพยนตร์ในภาพยนตร์และเขียนบทโทรทัศน์สำหรับรายการโทรทัศน์ นักเขียนบทส่วนใหญ่เริ่มต้นอาชีพ โดยเขียนแบบยังไม่ได้ค่าจ้างของบท จนกว่าบทจะถูกขายออกไปได้

มีนักเขียนบทหลายคนที่ทำงานเป็น สคริปต์ด็อกเตอร์ คือแก้ไขบทให้เหมาะกับตัวผู้กำกับหรือสตูดิโอ ตัวอย่างเช่น ผู้บริหารสตูดิโออาจบ่นว่า แรงกระตุ้นของตัวละครไม่ชัดเจน หรือบทพูดออกไป นักเขียนบทอาจหางานจากการขายบทคร่าว ๆ (อาจจะราว 10-30 หน้า) หรือเรื่องย่อ (อาจจะราว 1-2 หน้า) หรืออาจขายบททั้งบทภาพยนตร์ แม้ว่าจะยังเขียนไม่เสร็จ แต่อย่างไรก็ตามเป็นเรื่องที่เกิดไม่บ่อยที่นักเขียนบทจะขายบท

หนึ่งในวิธีสำคัญ คือการนำความคิดไปขายกับสตูดิโอให้สร้าง คือการใช้นักเขียนบทถูกคนให้ถูกกับโครงการ เพราะโดยมากโครงการส่วนใหญ่ที่ขายให้สตูดิโอมักจะให้นักเขียนบทของตัวเองทำเพื่อให้บทเสร็จสมบูรณ์หรือให้เขียนร่างสุดท้าย

ในสหรัฐอเมริกา นักเขียนบทอาชีพเป็นสมาชิกอยู่ในองค์กร อย่างเช่น สมาคมนักเขียนบทฝั่งตะวันออก ซึ่งสมาคมนี้ได้มีการให้รางวัลกับผลงานของนักเขียนบทที่สังกัดอยู่ด้วย