ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารสื่อประสาท"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
LaaknorBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3rc2) (โรบอต เพิ่ม: is:Taugaboðefni
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 51 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q162657 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 32: บรรทัด 32:
[[หมวดหมู่:ประสาทวิทยาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:ประสาทวิทยาศาสตร์]]
[[หมวดหมู่:สารสื่อประสาท| ]]
[[หมวดหมู่:สารสื่อประสาท| ]]

[[ar:ناقل عصبي]]
[[be:Нейрамедыятар]]
[[be-x-old:Нэўрамэдыятар]]
[[bg:Невротрансмитер]]
[[bn:নিউরোট্রান্সমিটার]]
[[ca:Neurotransmissor]]
[[cs:Neurotransmiter]]
[[da:Neurotransmitter]]
[[de:Neurotransmitter]]
[[el:Νευροδιαβιβαστής]]
[[en:Neurotransmitter]]
[[eo:Neŭrotransmisiilo]]
[[es:Neurotransmisor]]
[[et:Neurotransmitter]]
[[eu:Neurotransmisore]]
[[fa:پیامرسان عصبی]]
[[fi:Aivojen välittäjäaine]]
[[fr:Neurotransmetteur]]
[[gl:Neurotransmisor]]
[[he:מוליך עצבי]]
[[hr:Neurotransmiter]]
[[ht:Newotransmetè]]
[[hu:Ingerületátvivő anyagok]]
[[id:Neurotransmiter]]
[[is:Taugaboðefni]]
[[it:Neurotrasmettitore]]
[[ja:神経伝達物質]]
[[ko:신경전달물질]]
[[la:Neurotransmissor]]
[[lt:Mediatorius (biochemija)]]
[[lv:Neiromediatori]]
[[ml:നാഡീയപ്രേഷകം]]
[[nl:Neurotransmitter]]
[[no:Nevrotransmitter]]
[[oc:Neurotransmetor]]
[[pl:Neuroprzekaźnik]]
[[pt:Neurotransmissor]]
[[ro:Neurotransmițător]]
[[ru:Нейромедиатор]]
[[sh:Neurotransmiteri]]
[[simple:Neurotransmitter]]
[[sk:Neurotransmiter]]
[[sl:Živčni prenašalec]]
[[sr:Неуротрансмитер]]
[[sv:Signalsubstans]]
[[tl:Neurotransmitter]]
[[tr:Nörotransmitter]]
[[uk:Нейромедіатори]]
[[ur:عصبی ناقل]]
[[vi:Chất dẫn truyền thần kinh]]
[[zh:神经递质]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:49, 9 มีนาคม 2556

สารสื่อประสาท (neurotransmitter) คือ สารเคมีที่มีหน้าที่ในการนำ, ขยาย และควบคุมสัญญาณไฟฟ้าจากเซลล์ประสาทเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่ง ตามระบอบความเชื่อ ที่ตั้งขึ้นในทศวรรษที่ 1960 โดยที่สารเคมีนั้นจะเป็นสารสื่อประสาทได้จะต้องเป็นจริงตามเงื่อนไขดังนี้

  1. สารนั้นต้องสารภายในเซลล์ อันเป็นเซลล์ที่เรียกว่า เซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์ (presynaptic neuron)
  2. สารที่พบใน presynaptic neuron จะต้องมีปริมาณเพียงพอที่เมื่อหลั่งออกมาแล้วสามารถทำให้เกิดผลที่ เซลล์ประสาทหลังไซแนปส์ (postsynaptic neuron) ได้
  3. ถ้าหากนำสารนี้ใส่ไปบริเวณ postsynaptic neuron (หมายถึง สารนั้นไม่ได้มาจาก presynaptic neuron แต่นำสารสกัดหรือสังเคราะห์ใส่ไปในการทดลอง) จะทำให้เกิดผลเหมือนกับผลที่ได้จากการหลั่งสารจาก presynaptic neuron
  4. จะต้องมีกลไกทางชีวเคมีที่ใช้ในการหยุดการทำงานของสารสื่อประสาทเกิดขึ้น

อย่างไรก็ตาม บางคนถือว่าสสารบางชนิด เช่น ไอออนของสังกะสี ซึ่งไม่ได้สังเคราะห์หรือเกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาคะตาบอลิซึ่ม เป็นสารสื่อประสาท ดังนั้น จำเป็นต้องมีคำนิยามใหม่ ๆ เกี่ยวกับสารสื่อประสาท เพื่อใช้อธิบายสารใหม่ ๆ ที่พบว่ามีหน้าที่เป็นหรือคล้ายสารสื่อประสาท

ชนิดของสารสื่อประสาท

  • กรดอะมิโน (amino acids)

ลักษณะเป็นโมเลกุลขนาดเล็ก สามารถขนส่งได้อย่างรวดเร็ว ตัวอย่างเช่น กลูตาเมต (glutamate), ไกลซีน (glycine), GABA เป็นต้น

  • Catecholamines

ตัวอย่างเช่น DA, 5-HT, NE เป็นต้น

  • Neuropeptides

เป็นสารสื่อประสาทที่มีคุณสมบัติ slow communication ตัวอย่างเช่น substance P เป็นต้น

การส่งสารสื่อประสาท

เมื่อมีการส่งกระแสประสาท สารสื่อประสาทจะถูกนำเข้าสู่เซลล์ประสาทโดยผ่านทางช่องรับสารสื่อประสาทที่อยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์ของปลายประสาทเดนไดรท์ หรือที่เรียกว่าประตูไอออน (ion channels) ซึ่งประตูไอออนนี้ก็จะมีหลายชนิดแตกต่างกันไปและมีกลไกในการเปิดรับสารสื่อประสาทที่แตกต่างกันด้วย โดยที่ประตูไอออนแต่ละชนิดก็จะจับกับสารสื่อประสาทอย่างจำเพาะเจาะจง เมื่อสารสื่อประสาทเหล่านี้เข้ามาสู่ภายในเซลล์แล้ว ก็จะถูกบรรจุในถุงที่เรียกว่าเวสสิเคิล (vesicle) ซึ่งเวสสิเคิลก็จะเคลื่อนที่ไปยังเซลล์ประสาทเพื่อส่งสารสื่อประสาทนี้ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆต่อไปตามกลไกของมัน

กลไกในการกำจัดสารสื่อประสาท

เมื่อมีการหลั่งสารสื่อประสาทออกมา หลังจากใช้งานเสร็จเรียบร้อยก็จะมีกลไกในการกำจัดสารสื่อประสาทที่เหลือได้หลายรูปแบบดังนี้

  1. นำกลับไปใช้ใหม่ (Reuptake) คือ การนำสารสื่อประสาทไปบรรจุไว้ในเวสสิเคิลเหมือนเดิม เพื่อทำหน้าที่ในการสื่อสัญญาณประสาทต่อไป
  2. ทำลายทิ้งโดยเอนไซม์ (Enzymatic degradation) คือ การกำจัดสารสื่อประสาทโดยใช้เอนไซม์เป็นตัวช่วย ทำให้สารสื่อประสาทนั้นมีโครงสร้างที่เสียไป และไม่สามารถใช้งานได้อีก
  3. การแพร่ออกไป (Diffusion) คือ การแพร่สารสื่อประสาทไปยังบริเวณอื่นๆ

ดูเพิ่ม