ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความชัน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
[[หมวดหมู่:คณิตศาสตร์มูลฐาน]]
[[หมวดหมู่:คณิตศาสตร์มูลฐาน]]


[[bg:Диференчно частно]]
[[ca:Pendent (matemàtiques)]]
[[cs:Směrnice]]
[[cs:Směrnice]]
[[da:Hældningstal]]
[[da:Hældningstal]]
[[de:Steigung]]
[[en:Slope]]
[[es:Pendiente de la recta]]
[[es:Pendiente de la recta]]
[[et:Tõus (matemaatika)]]
[[fr:Pente (mathématiques)]]
[[hr:Koeficijent smjera pravca]]
[[is:Hallatala]]
[[it:Coefficiente angolare]]
[[nl:Hellingsgraad]]
[[nl:Hellingsgraad]]
[[pt:Entes geométricos fundamentais#Coeficiente angular]]
[[no:Stigningstall]]
[[pt:Entes geom%C3%A9tricos fundamentais#Coeficiente angular]]
[[fi:Kulmakerroin]]
[[sv:Riktningskoefficient]]
[[ta:சாய்வு]]
[[zh:斜率]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:27, 8 มีนาคม 2556

ความชันของเส้นตรงนิยามตามการยกขึ้นของเส้น m = Δyx

ในทางคณิตศาสตร์ ความชัน (slope หรือ gradient) ของเส้นตรงบอกถึงความสูงชัน ความลาดเอียง หรือ ระดับ ค่าความชันยิ่งมากแสดงถึงความสูงชัน ความลาดเอียงที่มากขึ้น

ความชันนิยามตามอัตราของ"การยก"หารด้วย"การเคลื่อนที่"ระหว่างจุดสองจุดบนเส้น หรืออัตราส่วนสูงที่เปลี่ยนแปลงต่อระยะทางตามแนวนอนระหว่างสองจุดใดๆบนเส้น ให้สองจุดนั้นเป็น (x1,y1) และ (x2,y2) บนเส้นตรง ความชัน m ของเส้นตรงเป็น

ด้วยวิธีแคลคูลัสเชิงอนุพันธ์สามารถคำนวณความชันของเส้นสัมผัสจนถึงเส้นโค้งที่จุดๆหนึ่งได้

แนวคิดเรื่องความชันสามารถประยุกต์ในระดับหรือความชันในภูมิศาสตร์และวิศวกรรมโยธา ด้วยวิธีตรีโกณมิติ ระดับ m ของถนนที่งมุมลาดเอียง θ

แหล่งข้อมูลอื่น