ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความต้านทานและการนำไฟฟ้า"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
autoCategory
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
[[หมวดหมู่:ปริมาณทางกายภาพ]]
[[หมวดหมู่:ปริมาณทางกายภาพ]]
[[หมวดหมู่:แม่เหล็กไฟฟ้า]]
[[หมวดหมู่:แม่เหล็กไฟฟ้า]]

[[af:Elektriese weerstand]]
[[am:መጠነ እንቅፋት]]
[[ar:مقاومة وموصلية كهربائية]]
[[az:Elektrik müqaviməti]]
[[be:Электрычнае супраціўленне]]
[[be-x-old:Супор]]
[[bg:Електрическо съпротивление]]
[[bn:রোধ]]
[[bs:Električni otpor]]
[[ca:Resistència elèctrica (propietat)]]
[[cs:Elektrický odpor]]
[[cy:Gwrthiant trydanol]]
[[da:Resistans]]
[[de:Elektrischer Widerstand]]
[[el:Ηλεκτρική αντίσταση]]
[[en:Electrical resistance and conductance]]
[[eo:Elektra rezistanco]]
[[es:Resistencia eléctrica]]
[[et:Takistus]]
[[eu:Erresistentzia elektriko]]
[[fa:مقاومت الکتریکی]]
[[fi:Resistanssi]]
[[fr:Résistance (électricité)]]
[[frr:Elektrisk wederstant]]
[[gl:Resistencia eléctrica]]
[[he:מוליכות חשמלית]]
[[hi:विद्युत प्रतिरोध]]
[[hr:Električni otpor]]
[[ht:Rezistans (kouran)]]
[[hu:Elektromos ellenállás]]
[[hy:Դիմադրություն (էլեկտրական)]]
[[id:Hambatan listrik]]
[[io:Elektra rezistiero]]
[[is:Rafmótstaða]]
[[it:Resistenza elettrica]]
[[ja:電気抵抗]]
[[ko:전기 저항]]
[[la:Resistentia electrica]]
[[lt:Elektrinė varža]]
[[lv:Elektriskā pretestība]]
[[mk:Електричен отпор]]
[[ml:വൈദ്യുതപ്രതിരോധം]]
[[mn:Цахилгаан эсэргүүцэл]]
[[ms:Rintangan elektrik]]
[[nds:Elektrisch Wedderstand]]
[[nl:Elektrische weerstand (eigenschap)]]
[[nn:Elektrisk motstand]]
[[no:Motstand (resistans)]]
[[pl:Rezystancja]]
[[pt:Resistência elétrica]]
[[qu:Pinchikilla hark'ay]]
[[ro:Rezistență electrică]]
[[ru:Электрическое сопротивление]]
[[sco:Reseestance]]
[[sh:Električni otpor]]
[[simple:Electrical resistance]]
[[sk:Elektrický odpor]]
[[sl:Električni upor]]
[[sn:Mukweso]]
[[sq:Rezistenca elektrike]]
[[sr:Електрични отпор]]
[[stq:Wierstand]]
[[sv:Resistans]]
[[ta:மின்தடை]]
[[tl:Resistensiya]]
[[ug:قارشىلىق]]
[[uk:Електричний опір]]
[[ur:برقی مزاحمت]]
[[vi:Điện trở]]
[[wo:Ndëgërlu gu mbëj]]
[[zh:电阻]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 19:30, 8 มีนาคม 2556

ความต้านทานไฟฟ้า (อังกฤษ: electrical resistance) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแสไฟฟ้าของวัตถุ[1] วัตถุที่มีความต้านทานต่ำจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย เรียกว่า ตัวนำไฟฟ้า ในขณะที่ฉนวนไฟฟ้ามีความต้านทานสูงมากและกระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ยาก

ค่าความต้านทานไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ R มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ Georg Simon Ohm ซึ่งเป็นบุคคลแรกที่เสนอรายงานการทดลองเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างกระแสและแรงดันในปี 1826 ส่วนกลับของค่าความต้านทานเรียกว่า ความนำไฟฟ้า (Conductivity) หน่วยซีเมนส์

กฎของโอห์มแสดง ความสัมพันธ์ระหว่าง แรงดันไฟฟ้า (V) , กระแสไฟฟ้า (I) และความต้านทาน (R) ไว้ดังนี้

ความต้านทานของวัตถุ

ความต้านทานไฟฟ้ากระแสตรง

เมื่อไฟฟ้ากระแสตรงไหลผ่านวัตถุหรือสสารที่มีโครงสร้างเป็นเนื้อเดียวกันอย่างสม่ำเสมอทั้งชิ้น (เอกพันธ์ หรือ homogeneous) [2] กระแสไฟฟ้าจะกระจายทั่วหน้าตัดของวัตถุหรือสสารเหล่านั้น เราสามารถแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมิติทางกายภาพและความต้านทานไฟฟ้าของวัตถุได้เป็น

โดย

l คือ ความยาวของตัวนำ มีหน่วยเป็นเมตร(m)
A คือ พื้นที่หน้าตัดของตัวนำ มีหน่วยเป็นตารางเมตร(m.m)
ρ (Greek: rho) คือ สภาพต้านทานไฟฟ้าของสสาร มีหน่วยเป็นโอห์ม-เมตร(Ω.m)

ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับ

เมื่อไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่านวัตถุหรือสสารลักษณะสมบัติของกระแสที่ไหลผ่านวัตถุหรือสสารเหล่านั้นย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามแต่ละชนิดของวัตถุหรือสสารเหล่านั้น กระแสที่ไหลผ่านจึงไม่เป็นเพียงกระแสนำ (Conduction Current) แต่เพียงอย่างเดียวดังเช่นวงจรไฟฟ้ากระแสตรง ยังจะประกอบด้วยกระแสพา (Impressed Current) และกระแสแทนที่ (Displacement Current) [3] ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับยังคงเป็นปริมาณที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันและกระแสที่ไหลผ่านวัตถุหรือสสารไดๆ แต่ปริมาณดังกล่าวมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับตัวแปรที่เพิ่มขึ้นจึงเขียนแทนด้วยสัญญลักษณ์ที่แตกต่างกับความต้านทานไฟฟ้ากระแสตรงด้วยตัวอักษรโรมันคือ Z ค่าดังกล่าวปกติเป็นปริมาณเชิงซ้อนที่ส่วนประกอบจินตภาพไม่เท่ากับศูนย์

อ้างอิง

  1. J. D. Kruas., "Electromagnetics.," McGrawhill, 1992, Singapore, ISBN 0-07-11266-x, p-183
  2. C. A. Balanis., "Advanced Engineering Electromagnetics.," John wiley & sons, 1989, Canada, ISBN 978-0-471-62194-2, p-7
  3. R. F. Harrington., "Time-Harmonic Electromagnetic Fields.," IEEE Press, 2001, Reissued original 1961, New York, ISBN 0-471-20806-X, p-7.