ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ของเหลวผลควบแน่นโพส–ไอน์สไตน์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 14: บรรทัด 14:
[[หมวดหมู่:สสารควบแน่นทางฟิสิกส์]]
[[หมวดหมู่:สสารควบแน่นทางฟิสิกส์]]


[[ar:تكاثف بوز وأينشتاين]]
[[bg:Бозе-Айнщайнова кондензация]]
[[ca:Condensat de Bose-Einstein]]
[[cs:Boseho-Einsteinův kondenzát]]
[[da:Bose-Einstein-kondensat]]
[[de:Bose-Einstein-Kondensat]]
[[el:Συμπύκνωμα Bose-Einstein]]
[[en:Bose–Einstein condensate]]
[[es:Condensado de Bose-Einstein]]
[[fa:چگالش بوز-اینشتین]]
[[fi:Bosen–Einsteinin kondensaatti]]
[[fr:Condensat de Bose-Einstein]]
[[gl:Condensado de Bose-Einstein]]
[[he:עיבוי בוז-איינשטיין]]
[[hy:Բոզե-Այնշտայնի կոնդենսատ]]
[[id:Kondensat Bose-Einstein]]
[[it:Condensato di Bose-Einstein]]
[[ja:ボース=アインシュタイン凝縮]]
[[kk:Бозе–Эйнштейн конденсаттануы]]
[[ko:보스-아인슈타인 응축]]
[[lt:Bozė-Einšteino kondensatas]]
[[ml:ബോസ്-ഐന്‍സ്റ്റൈന്‍ കണ്ടന്‍സേറ്റ്]]
[[ml:ബോസ്-ഐന്‍സ്റ്റൈന്‍ കണ്ടന്‍സേറ്റ്]]
[[mn:Бозе-Эйнштейний конденцат]]
[[nl:Bose-Einsteincondensaat]]
[[nn:Bose-Einsteinkondensat]]
[[no:Bose-Einstein-kondensasjon]]
[[pl:Kondensat Bosego-Einsteina]]
[[pt:Condensado de Bose-Einstein]]
[[ru:Конденсат Бозе — Эйнштейна]]
[[simple:Bose–Einstein condensate]]
[[sk:Boseho-Einsteinov kondenzát]]
[[sl:Bose-Einsteinov kondenzat]]
[[sv:Bose–Einstein-kondensat]]
[[ta:போசு-ஐன்ஸ்டைன் செறிபொருள்]]
[[tr:Bose-Einstein yoğunlaşması]]
[[uk:Конденсація Бозе—Ейнштейна]]
[[vi:Ngưng tụ Bose-Einstein]]
[[zh:玻色–爱因斯坦凝聚]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:04, 8 มีนาคม 2556


สสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ (อังกฤษ: Bose–Einstein condensate) เกิดขึ้นเมื่อเราลดอุณหภูมิของธาตุลงให้ต่ำมากๆ โดยปกติจะสูงกว่าศูนย์องศาสัมบูรณ์ (-273.15 องศาเซลเซียส) เพียงแค่เศษเสี้ยวเดียวของ 1 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิในทางทฤษฎีที่ทุกสิ่งทุกอย่างหยุดการเคลื่อนไหวนิ่งสนิท

พฤติกรรมที่โดยปกติจะเห็นได้ในระดับอะตอมก็สามารถเห็นได้ในระดับที่กว้างขึ้น ตัวอย่างเช่น ถ้านำสสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์มาใส่ในถ้วยแก้ว และรักษาระดับความเย็นให้เพียงพอ สสารดังกล่าวจะไหลคลานออกมาข้างนอกถ้วยแก้วด้วยตัวมันเอง

สสารควบแน่นโบส-ไอน์สไตน์ได้รับการพยากรณ์ว่ามีอยู่จริงโดยไอน์สไตน์ในปี ค.ศ. 1925 หลังจากที่ศึกษาผลงานของสัตเยนตรานาถ โบส (Satyendra Nath Bose) แต่ก็ไม่มีใครทำให้สสารดังกล่าวเกิดขึ้นได้จริงจนกระทั่งถึงปี 1995 ซึ่งส่งผลให้การค้นพบดังกล่าวได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ในปี 2001 ต้นฉบับงานเขียนของไอน์สไตน์ก็เพิ่งถูกค้นพบอีกครั้งในปี 2005 นี่เอง