ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การแปลรหัส (พันธุศาสตร์)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 13: บรรทัด 13:
[[หมวดหมู่:อณูชีววิทยา]]
[[หมวดหมู่:อณูชีววิทยา]]
{{โครงแพทย์}}
{{โครงแพทย์}}

[[ar:ترجمة (وراثة)]]
[[bg:Транслация (биология)]]
[[ca:Traducció (genètica)]]
[[cs:Translace]]
[[de:Translation (Biologie)]]
[[el:Μετάφραση (βιολογία)]]
[[en:Translation (biology)]]
[[es:Traducción (genética)]]
[[et:Translatsioon]]
[[eu:Itzulpen (genetika)]]
[[fa:ترجمه (زیست‌شناسی)]]
[[fi:Translaatio (biologia)]]
[[fr:Traduction génétique]]
[[gl:Tradución (proteínas)]]
[[he:תרגום (ביולוגיה)]]
[[hu:Transzláció]]
[[id:Translasi (genetik)]]
[[ja:翻訳 (生物学)]]
[[kk:Трансляция (биология)]]
[[ko:번역 (생물학)]]
[[la:Translatio genetica]]
[[lt:Transliacija (biologija)]]
[[mk:Транслација (биологија)]]
[[nl:Translatie (biologie)]]
[[oc:Traduccion genetica]]
[[pl:Translacja (genetyka)]]
[[pt:Tradução (genética)]]
[[ru:Трансляция (биология)]]
[[sh:Translacija (genetika)]]
[[simple:Translation (genetics)]]
[[sk:Translácia (genetika)]]
[[sl:Gensko prevajanje]]
[[sr:Транслација (генетика)]]
[[sv:Translation (genetik)]]
[[tr:Translasyon]]
[[uk:Трансляція (біологія)]]
[[ur:ترجمہ (حیاتیات)]]
[[zh:翻译 (遗传学)]]
[[zh-min-nan:Hoan-e̍k (seng-bu̍t-ha̍k)]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:39, 8 มีนาคม 2556

ทรานสเลชันของโปรตีนที่หลั่งเข้าสู่เอนโดพลาสมิก เรติคิวลัม

ทรานสเลชัน (อังกฤษ: Translation) เป็นขั้นตอนแรกของการสังเคราะห์โปรตีน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการแสดงอออกของยีน ทรานสเลชันเป็นการผลิตโปรตีนโดยอ่านรหัสจาก mRNA ที่ได้จากทรานสคริบชัน ทรานสเลชันเกิดในไซโตพลาสซึมซึ่งมีไรโบโซมอยู่ ไรโบโซมนั้นประกอบด้วยหน่วยย่อยขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ซึ่งจะมาประกบกันเมื่อมี mRNA ทรานสเลชันนี้จะสร้างพอลิเพปไทด์จากการอ่านรหัสพันธุกรรมที่เป็นลำดับเบสบน mRNA รหัสพันธุกรรมจะเป็นตัวบอกลำดับของกรดอะมิโนในโปรตีน ส่วน RNA ชนิดอื่น เช่น rRNA, tRNA, snRNA ไม่เกี่ยวข้องกับการกำหนดกรดอะมิโน

ทรานสเลชันมี 4 ขั้นตอนคือ การกระตุ้น การเริ่มต้น การต่อเนื่องและการสิ้นสุด กรดอะมิโนจะถูกนำมายังไรโบโซมจากนั้นจึงต่อกันเป็นโปรตีน ขั้นตอนการกระตุ้น กรดอะมิโนจะเกิดพันธะโควาเลนต์กัน tRNA ที่เป็นคู่กัน กรดอะมิโนจะใช้หมู่คาร์บอกซิลจับกับหมู่ 3' OH ของ tRNA ด้วยพันธะเอสเทอร์

ขั้นตอนการเริ่มต้น เริ่มจากหน่วยเล็กของไรโบโซมจับกับปลาย 5' ของ mRNA โดยมี initiation factors (IF) เป็นผู้ช่วย การสิ้นสุดของการสร้างสายพอลิเพปไทด์เกิดขึ้นเมื่อด้าน A ของไรโบโซมเป็นรหัสพันธุกรรมหยุด (UAA, UAG, UGA) ซึ่งจะไม่มี tRNA เข้ามา แต่ releasing factor จะเข้ามาทำให้ปล่อยสายพอลิเพปไทด์ออกไป ปลาย 5' ของ mRNA ไปเป็นปลาย N ของพอลิเพปไทด์ และขั้นตอนทรานสเลชันเริ่มจาก N->C

ยาปฏิชีวนะจำนวนหนึ่งออกฤทธิ์ยับยั้งทรานสเลชัน เช่น anisomycin, cycloheximide, chloramphenicol, tetracycline, streptomycin, erythromycin และpuromycin ไรโบโซมของโปรคาริโอตมีโครงสร้างต่างจากของยูคาริโอต ทำให้ยาปฏิชีวนะจำเพาะเฉพาะแบคทีเรียไม่ทำลายยูคาริโอตที่เป็นเจ้าบ้าน