ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การสลายให้อนุภาคแอลฟา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 39: บรรทัด 39:
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์]]
[[หมวดหมู่:ฟิสิกส์นิวเคลียร์]]
[[หมวดหมู่:กัมมันตรังสี]]
[[หมวดหมู่:กัมมันตรังสี]]

[[af:Alfaverval]]
[[ar:تحلل ألفا]]
[[az:Alfa-dağılması]]
[[bg:Алфа разпад]]
[[ca:Desintegració alfa]]
[[da:Alfahenfald]]
[[el:Διάσπαση άλφα]]
[[en:Alpha decay]]
[[es:Desintegración Alfa]]
[[et:Alfalagunemine]]
[[eu:Alfa desintegrazio]]
[[fa:واپاشی آلفا]]
[[fi:Alfahajoaminen]]
[[fr:Radioactivité α]]
[[he:קרינת אלפא]]
[[hr:Alfa raspad]]
[[hu:Alfa-részecske]]
[[id:Peluruhan alfa]]
[[is:Alfasundrun]]
[[it:Decadimento alfa]]
[[ja:アルファ崩壊]]
[[kk:Альфа-ыдырау]]
[[ko:알파 붕괴]]
[[lt:Alfa skilimas]]
[[lv:Alfa sabrukšana]]
[[mn:Альфа задрал]]
[[ms:Pereputan alfa]]
[[nl:Alfastraling]]
[[oc:Radioactivitat α]]
[[pl:Rozpad alfa]]
[[pt:Emissão alfa]]
[[ro:Dezintegrare alfa]]
[[ru:Альфа-распад]]
[[sh:Alfa raspad]]
[[sk:Alfa rozpad]]
[[sl:Razpad alfa]]
[[sr:Алфа-распад]]
[[sv:Alfasönderfall]]
[[ta:அல்ஃபா சிதைவு]]
[[uk:Альфа-радіоактивність]]
[[vi:Phân rã alpha]]
[[zh:Α衰变]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:34, 8 มีนาคม 2556

การสลายให้กัมมันตรังสี
การสลายให้กัมมันตรังสี
การแบ่งแยกนิวเคลียสฟิชชัน
การสลายให้อนุภาคแอลฟา

การสลายให้อนุภาคแอลฟา (อังกฤษ: Alpha decay) เป็นรูปแบบหนึ่งของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีซึ่งนิวเคลียสอะตอมจะปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมา ดังนั้นจึงเปลี่ยนสภาพ (หรือ 'สลาย') อะตอมโดยสูญเสียเลขมวล 4 และเลขอะตอม 2 เช่น:

[1]

หรือเขียนเป็น:

อนุภาคแอลฟาคล้ายกับนิวเคลียสฮีเลียม-4 ที่มีเลขมวลและเลขอะตอมเท่ากัน

การสลายให้อนุภาคแอลฟาเหมือนกับการสลายให้กลุ่มอนุภาคอื่นๆเป็นกระบวนการ quantum tunneling พื้นฐาน การสลายให้อนุภาคแอลฟาไม่เหมือนกับการสลายให้อนุภาคบีตา การสลายให้อนุภาคแอลฟาถูกควบคุมโดยปฏิกิริยาต่อกันและกันระหว่างแรงนิวเคลียร์และแรงแม่เหล็กไฟฟ้า

การสลายให้อนุภาคแอลฟาเป็นรูปแบบของการสลายตัวของสารกัมมันตรังสีพบในนิวไคลด์ที่มีน้ำหนักมากเท่านั้น ตัวปลดปล่อยอนุภาคแอลฟาที่เบาที่สุดคือไอโซโทปที่เบาที่สุด (เลขมวล 106–110) ของเทลลูเรียม (ธาตุที่ 52)

เพราะมวลขนาดใหญ่ มีประจุไฟฟ้า +2 และอัตราความเร็วต่ำ เมื่อเทียบกับอนุภาคอื่นๆ อนุภาคแอลฟามักจะมีปฏิกิริยากับอะตอมอื่นๆและสูญเสียพลังงานของมันไป ดังนั้นการเคลื่อนตัวไปข้างหน้าของมันจะถูกหยุดในสองถึงสามเซนติเมตรของบรรยากาศของโลก

ฮีเลียมส่วนมากบนโลก (ประมาณ 99%) เป็นผลมาจากการสลายให้อนุภาคแอลฟาของแร่ที่ทับถมกันอยู่ใต้ดิน แร่ที่ประกอบไปด้วยยูเรเนียมหรือทอเรียม ฮีเลียมถูกนำขึ้นสู่ผิวโลกโดยเป็นผลิตภัณฑ์ที่เหลือของการผลิตก๊าซธรรมชาติ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Suchocki, John. Conceptual Chemistry, 2007. Page 119.

แหล่งข้อมูลอื่น