ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทูต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Makecat-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.6.5) (โรบอต เพิ่ม: ka:დიპლომატია
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 21: บรรทัด 21:
[[หมวดหมู่:การทูต]]
[[หมวดหมู่:การทูต]]


[[an:Diplomacia]]
[[ar:دبلوماسية]]
[[arz:دبلوماسيه]]
[[ast:Diplomacia]]
[[az:Diplomatiya]]
[[bat-smg:Dipluomatėjė]]
[[be:Дыпламатыя]]
[[be-x-old:Дыпляматыя]]
[[bg:Дипломация]]
[[bn:কূটনীতি]]
[[bo:ཕྱི་འབྲིལ།]]
[[bs:Diplomatija]]
[[ca:Diplomàcia]]
[[cs:Diplomacie]]
[[cy:Diplomyddiaeth]]
[[da:Diplomati]]
[[de:Diplomatie]]
[[el:Διπλωματικές σχέσεις]]
[[en:Diplomacy]]
[[eo:Diplomatio]]
[[es:Diplomacia]]
[[et:Diplomaatia]]
[[eu:Diplomazia]]
[[fa:دیپلماسی]]
[[fi:Diplomatia]]
[[fiu-vro:Diplomaatia]]
[[fr:Diplomatie]]
[[fur:Diplomazie]]
[[fy:Diplomasy]]
[[gl:Diplomacia]]
[[he:דיפלומטיה]]
[[hi:राजनय]]
[[hif:Kutniti]]
[[hr:Diplomacija]]
[[hu:Diplomácia]]
[[id:Diplomasi]]
[[ilo:Diplomasia]]
[[io:Diplomaco]]
[[is:Ríkiserindrekstur]]
[[it:Diplomazia]]
[[ja:外交]]
[[ka:დიპლომატია]]
[[ka:დიპლომატია]]
[[kk:Дипломатия]]
[[ko:외교]]
[[krc:Дипломатия]]
[[la:Diplomatia]]
[[lt:Diplomatija]]
[[lv:Diplomātija]]
[[mk:Дипломатија]]
[[ml:നയതന്ത്രം]]
[[ms:Diplomasi]]
[[mwl:Diplomacie]]
[[nap:Dipromazzia]]
[[new:कूटनीति]]
[[nl:Diplomatie]]
[[nn:Diplomati]]
[[no:Diplomati]]
[[oc:Diplomacia]]
[[pl:Dyplomacja]]
[[pnb:ڈپلومیسی]]
[[ps:ديپلوماسي]]
[[pt:Diplomacia]]
[[ro:Diplomație]]
[[ru:Дипломатия]]
[[rue:Діпломація]]
[[sah:Дипломатия]]
[[sc:Diplomatzia]]
[[scn:Dipromazzìa]]
[[sh:Diplomacija]]
[[simple:Diplomacy]]
[[sk:Diplomacia]]
[[sl:Diplomacija]]
[[sq:Diplomacia]]
[[sr:Diplomatija]]
[[sv:Diplomati]]
[[sw:Diplomasia]]
[[ta:பண்ணுறவாண்மை]]
[[tg:Дипломосӣ]]
[[tl:Diplomasya]]
[[tr:Diplomasi]]
[[uk:Дипломатія]]
[[ur:سفارت کاری]]
[[vi:Ngoại giao]]
[[war:Diplomasyá]]
[[xal:Элчлгч үүл]]
[[yi:דיפלאמאטיע]]
[[zh:外交]]
[[zh-min-nan:Goā-kau]]
[[zh-yue:外交]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:14, 8 มีนาคม 2556

การทูต (อังกฤษ: Diplomacy) เป็นศิลปะและทักษะการเจรจา สนทนา สื่อสาร รวมถึงการติดต่อธุระต่าง ๆระหว่างบุคคลที่ได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการให้เป็นตัวแทนการเจรจาขององค์กรหรือประเทศ

การทูต เป็นการแสดงถึงการเชื่อมสัมพันธไมตรีระหว่างกัน ให้มีความสัมพันธ์ทางด้านต่าง ๆ ที่ประเทศนั้น ๆ มีต่ออีกประเทศหนึ่ง โดยจะมีข้อตกลงที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น การทูต เชื่อมความสัมพันธ์ระหว่าง ไทย-มาเลเซีย โดยมีท่านทูตไปประจำทั้ง 2 ประเทศ เป็นต้น หากเกิดความขัดแย้งระหว่างประเทศ เราสามารถเรียกทูตกลับประเทศไทย หรือเรียกว่า การลดความสัมพันธ์ระหว่างกัน

บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง

  • บุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแสดงมิตรไมตรีต่อต่างชาติ และเป็นบุคคลที่เป็นตัวแทนของรัฐนั้น ๆ เรียกว่า ทูต ซึ่ง มีการแบ่งแยกการเรียกอีกตามระดับ
  • บุคคลที่เดินทางไปต่างประเทศร่วมกับคณะทูต มีหน้าที่ในการอารักขาทูต ซึ่งต้องขออนุญาตจากทางการของรัฐนั้นๆก่อน คือ ทหารของทูต
  • พนักงานที่ทำงานในสถานทูต ซึ่งมีหน้าที่ในการลงบันทึกต่าง ๆ หรือติดต่อประสานงานหลาย ๆ ฝ่าย คือ พนักงานทูต

บุคคลที่เป็นตัวแทนของประเทศต่าง ๆ หรือ เรียกว่าทูตนั้น ไม่ว่าจะทำอะไรก็ตามก็จะถือว่าไม่มีความผิด ใดทั้งสินในประเทศที่ไปดำเนินการอยู่ แต่จะถูกดำเนินคดีในรัฐซึ่งตนได้รับมอบหมาย

ดูเพิ่ม


แม่แบบ:Link FA