ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มอาการคุชิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 27: บรรทัด 27:
[[หมวดหมู่:โรคต่อมไร้ท่อ]]
[[หมวดหมู่:โรคต่อมไร้ท่อ]]


[[ar:فرط نشاط قشر الكظر]]
[[ca:Síndrome de Cushing]]
[[cs:Cushingův syndrom]]
[[da:Cushings syndrom]]
[[de:Cushing-Syndrom]]
[[dv:ކުޝިންގ ސިންޑްރޯމް]]
[[el:Σύνδρομο Cushing]]
[[en:Cushing's syndrome]]
[[es:Síndrome de Cushing]]
[[fa:نشانگان کوشینگ]]
[[fi:Cushingin oireyhtymä]]
[[fr:Syndrome de Cushing]]
[[he:תסמונת קושינג]]
[[hr:Cushingov sindrom]]
[[id:Sindrom Cushing]]
[[is:Cushing heilkenni]]
[[it:Sindrome di Cushing]]
[[ja:クッシング症候群]]
[[ka:კუშინგის სინდრომი]]
[[ko:쿠싱 증후군]]
[[ms:Sindrom Cushing]]
[[nl:Syndroom van Cushing]]
[[no:Cushings sykdom]]
[[pl:Zespół Cushinga]]
[[pt:Síndrome de Cushing]]
[[ru:Синдром гиперкортицизма]]
[[sl:Cushingov sindrom]]
[[sv:Cushings syndrom]]
[[sw:Ugonjwa wa Cushing]]
[[tr:Cushing sendromu]]
[[uk:Хвороба Кушинга]]
[[uk:Хвороба Кушинга]]
[[zh:庫興氏症候群]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:57, 8 มีนาคม 2556

กลุ่มอาการคุชชิง
(Cushing's syndrome)
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก
ICD-10E24
ICD-9255.0
MedlinePlus000410
eMedicinearticle/117365
MeSHD003480

กลุ่มอาการคุชชิง (อังกฤษ: Cushing's syndrome) บางครั้งเรียก hyperadrenocorticism หรือ hypercorticism เป็นความผิดปกติของระบบต่อมไร้ท่อที่ทำให้มีระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลในเลือดสูง (hypercortisolism) อาจเกิดจากการได้รับยาเสตียรอยด์ หรือจากเนื้องอกที่หลั่งคอร์ติซอลหรือฮอร์โมน adrenocorticotropic (ACTH) โรคหนึ่งเรียกว่าโรคคุชชิงเป็นสาเหตุหนึ่งของกลุ่มอาการนี้ เกิดจากการมีเนื้องอก (อะดีโนมา) ที่ต่อมใต้สมอง แล้วหลั่งฮอร์โมน ACTH ปริมาณมากออกมาทำให้มีการสร้างคอร์ติซอลมาก เฉพาะโรคนี้สามารถรักษาได้ด้วยการผ่าตัด โรคนี้ได้รับการอธิบายโดยนายแพทย์ Harvey Cushing ในปีค.ศ. 1932[1]

กลุ่มอาการคุชชิงไม่ได้พบแต่ในเพียงมนุษย์เท่านั้นและยังพบได้บ่อยในสุนัขและม้าด้วย[ต้องการอ้างอิง]

อ้างอิง

  1. Cushing HW. (1932). "The basophil adenomas of the pituitary body and their clinical manifestations (pituitary basophilism)". Bull Johns Hopkins Hosp. 50: 137–95.