ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชะรีอะฮ์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: diq:Şeriet (deleted)
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
[[หมวดหมู่:กฎหมายชะรีอะฮ์|กฎหมายชะรีอะฮ์]]
[[หมวดหมู่:กฎหมายชะรีอะฮ์|กฎหมายชะรีอะฮ์]]
{{โครงศาสนา}}
{{โครงศาสนา}}

[[ar:شريعة إسلامية]]
[[ast:Xaria]]
[[ba:Шәриғәт]]
[[be:Шарыят]]
[[be-x-old:Шарыят]]
[[bg:Шариат]]
[[bo:ཤ་རི་ཡ།]]
[[bs:Šerijat]]
[[ca:Xaria]]
[[cs:Šaría]]
[[da:Sharia]]
[[de:Scharia]]
[[dv:ޝަރީޢަތް]]
[[el:Σαρία]]
[[en:Sharia]]
[[eo:Ŝario]]
[[es:Sharia]]
[[et:Šariaat]]
[[eu:Xaria]]
[[fa:احکام اسلام]]
[[fi:Šaria]]
[[fr:Charia]]
[[gl:Shari'a - شريعة]]
[[he:שריעה]]
[[hi:शरीया]]
[[hr:Šerijatsko pravo]]
[[hu:Saría]]
[[id:Syariat Islam]]
[[it:Shari'a]]
[[ja:シャリーア]]
[[ka:შარია]]
[[kk:Шариғат]]
[[ko:샤리아]]
[[ku:Şerîet]]
[[ky:Шарият]]
[[lt:Šariatas]]
[[lv:Šariats]]
[[mk:Шеријат]]
[[ml:ശരീഅത്ത്‌]]
[[ms:Syariat Islam]]
[[nl:Sharia]]
[[nn:Sjaria]]
[[no:Sharia]]
[[pl:Szariat]]
[[ps:شريعت]]
[[pt:Charia]]
[[ro:Shariah]]
[[ru:Шариат]]
[[sh:Islamsko pravo]]
[[si:ෂරීආ - ඉස්ලාමීය නීති රීති]]
[[simple:Sharia]]
[[sk:Šaría]]
[[sq:Sheriati]]
[[sr:Шеријат]]
[[sv:Sharia]]
[[ta:இஸ்லாமியச் சட்ட முறைமை]]
[[te:షరియా]]
[[tl:Sharia]]
[[tr:Şeriat]]
[[tt:Şäriğät]]
[[uk:Шаріат]]
[[ur:شریعت]]
[[uz:Shariat]]
[[vi:Sharia]]
[[war:Sharia]]
[[zh:伊斯蘭教法]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:36, 8 มีนาคม 2556

กฎหมายชะรีอะฮ์ (อังกฤษ: Sharia หรือ Shari'ah) คือ ประมวลข้อปฏิบัติต่าง ๆ ของกฎหมายศาสนาของศาสนาอิสลาม คำว่า "ชะรีอะฮ์" แปลว่า "ทาง" หรือ "ทางไปสู่แหล่งน้ำ" กฎหมายชะรีอะฮ์คือโครงสร้างทางกฎหมายที่ครอบคลุมวิถีการดำเนินชีวิตของบุคคลและสาธารณชนที่มีพื้นฐานมาจากหลักนิติศาสตร์ (jurisprudence) ของศาสนาอิสลามสำหรับใช้โดยมุสลิม

กฎหมายชะรีอะฮ์ครอบคลุมด้านต่าง ๆ ของชีวิตประจำวันที่รวมทั้งระบบการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบการดำเนินธุรกิจ ระบบการธนาคาร ระบบการทำสัญญา ความสัมพันธ์ในครอบครัว หลักของความสัมพันธ์ทางเพศ หลักการอนามัย และปัญหาสังคม

กฎหมายชะรีอะฮ์ในปัจจุบันเป็นกฎหมายศาสนาที่ใช้กันอย่างกว้างขวางที่สุดและเป็นกฎหมายที่ปรากฏบ่อยที่สุดของระบบกฎหมายของโลกพอ ๆ กับคอมมอนลอว์ และซีวิลลอว์[1] ในระหว่างยุคทองของอิสลาม กฎหมายอิสลามอาจถือว่ามีอิทธิพลต่อการวิวัฒนาการของคอมมอนลอว์[2] ซึ่งก็ทำให้มีอิทธิพลต่อการวิวัฒนาการของคอมมอนลอว์ระดับสถาบันต่าง ๆ[3]

อ้างอิง

  1. (Badr 1978)
  2. (Makdisi 1999)
  3. (Badr 1978, pp. 196–8)

ดูเพิ่ม


แม่แบบ:Link FA