ผลต่างระหว่างรุ่นของ "บิต"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Earthpanot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4666175 สร้างโดย 180.180.169.96 (พูดคุย)
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 81 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q8805 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
[[หมวดหมู่:ชนิดข้อมูลพื้นฐาน]]
[[หมวดหมู่:ชนิดข้อมูลพื้นฐาน]]
[[หมวดหมู่:เลขคณิตฐานสอง]]
[[หมวดหมู่:เลขคณิตฐานสอง]]

[[an:Bit]]
[[ar:بت]]
[[ast:Bit]]
[[az:Bit]]
[[be:Біт]]
[[be-x-old:Біт]]
[[bg:Бит (информатика)]]
[[bn:বিট]]
[[br:Bit]]
[[bs:Bit]]
[[ca:Bit]]
[[ckb:بیت]]
[[cs:Bit]]
[[cy:Bit]]
[[da:Bit]]
[[de:Bit]]
[[el:Bit]]
[[en:Bit]]
[[eo:Bito]]
[[es:Bit]]
[[et:Bitt]]
[[eu:Bit]]
[[fa:بیت (رایانه)]]
[[fi:Bitti]]
[[fr:Bit]]
[[fur:Bit]]
[[fy:Bit]]
[[ga:Giotán]]
[[gl:Bit]]
[[he:סיבית]]
[[hr:Bit]]
[[hu:Bit]]
[[ia:Bit]]
[[id:Bit]]
[[is:Biti (tölvufræði)]]
[[it:Bit]]
[[ja:ビット]]
[[ka:ბიტი]]
[[kaa:Bit]]
[[kk:Бит (өлшем бірлігі)]]
[[ko:비트]]
[[ky:Бит (маалымат)]]
[[la:Bit]]
[[lb:Bit]]
[[lo:ບິຕ]]
[[lt:Bitas]]
[[lv:Bits]]
[[mhr:Бит]]
[[mk:Бит]]
[[ml:ബിറ്റ്]]
[[mn:Бит]]
[[mr:बाईट]]
[[ms:Bit]]
[[mt:Bit]]
[[my:Bit]]
[[nl:Bit (eenheid)]]
[[nn:Bit]]
[[no:Bit]]
[[oc:Bit]]
[[pl:Bit]]
[[pnb:بٹ]]
[[pt:Bit]]
[[ro:Bit]]
[[ru:Бит]]
[[scn:Bit]]
[[sh:Bit (informatika)]]
[[simple:Bit]]
[[sk:Bit]]
[[sl:Bit]]
[[sq:Bit]]
[[sr:Бит (рачунарство)]]
[[sv:Bit]]
[[ta:இருமம்]]
[[tg:Бит]]
[[tr:Bit (bilişim)]]
[[uk:Біт]]
[[ur:تثم]]
[[vi:Bit]]
[[war:Bit]]
[[yi:ביט]]
[[zh:位元]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:36, 8 มีนาคม 2556

บิต (อังกฤษ: bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ใช้ระบบคอมพิวเตอร์แบบดิจิทัลและทฤษฎีข้อมูล

ข้อมูลหนึ่งบิต มีสถานะที่เป็นไปได้ 2 สถานะ คือ

  • 0 (ปิด)
  • 1 (เปิด)

เคลาด์ อี แชนนอน (Claude E. Shannon) เริ่มใช้คำว่า บิต ในงานเขียนของเขาในปี พ.ศ. 2491 โดยย่อจากคำเต็มคือ binary digit (หรือ binary unit) แชนนอนได้กล่าวถึงที่มาของคำนี้ว่ามาจาก จอห์น ดับบลิว ทูคีย์ (John W. Tukey)

ไบต์ (byte) เป็นกลุ่มของบิต ซึ่งเดิมมีได้หลายขนาด แต่ปัจจุบัน มักเท่ากับ 8 บิต ไบต์ขนาด 8 บิต มีชื่อเรียกอีกชื่อว่า ออกเท็ต (octet) สามารถเก็บค่าได้ 256 ค่า (28 ค่า, 0 ถึง 255) ส่วนปริมาณ 4 บิต เรียกว่านิบเบิล (nibble) สามารถแทนค่าได้ 16 ค่า (24 ค่า, 0 ถึง 15)

เวิร์ด (word) เป็นคำที่ใช้เรียกจำนวนบิตที่มากขึ้น แต่ก็ไม่มีขนาดเป็นมาตรฐานตายตัว บนเครื่องคอมพิวเตอร์สถาปัตยกรรม IA-32 จำนวน 16 บิตจะเรียกว่าเวิร์ด ในขณะที่ 32 บิตเรียกว่า ดับเบิลเวิร์ด (double word) หรือ dword ในขณะที่สถาปัตยกรรมอื่น ๆ หนึ่งเวิร์ดมีค่าเท่ากับ 32 บิต, 64 บิต หรือค่าอื่น ๆ ซึ่งหน่วยประมวลผลกลาง จะทำการประมวลผลกับเวิร์ดได้สะดวกที่สุด

ในระบบโทรคมนาคม หรือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความเร็วในการส่งนิยมใช้หน่วยในรูปของ บิตต่อวินาที (bps - bits per second)

บิตเป็นหน่วยวัดข้อมูลเล็กที่สุดที่ใช้กันทั่วไป แต่ในขณะนี้มีการวิจัยกันในเรื่องการคำนวณทางควอนตัม (quantum computing) ซึ่งใช้หน่วยวัดข้อมูลเป็น คิวบิต (qubit) (quantum bit)

หน่วยนับ

  • 1 กิโลบิต (Kb) = 1000*8 บิต หรือ 1024*8 บิต
  • 1 เมกะบิต (Mb) = 1000 กิโลบิต หรือ 1024 กิโลบิต
  • 1 จิกะบิต (Gb) = 1000 เมกะบิต หรือ 1024 เมกะบิต
  • 1 เทราบิต (Tb) = 1000 จิกะบิต หรือ 1024 จิกะบิต