ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอกสารข้อมูลความปลอดภัย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
บรรทัด 30: บรรทัด 30:
[[หมวดหมู่:เอกสาร]]
[[หมวดหมู่:เอกสาร]]
{{โครง}}
{{โครง}}

[[ar:صحيفة بيانات سلامة المادة]]
[[ca:Fitxa de dades de seguretat]]
[[cs:Bezpečnostní list]]
[[da:Sikkerhedsdatablad]]
[[de:Sicherheitsdatenblatt]]
[[en:Material safety data sheet]]
[[es:Ficha de datos de seguridad]]
[[fi:Käyttöturvallisuustiedote]]
[[fr:Fiche de données de sécurité]]
[[gl:MSDS]]
[[he:גיליון בטיחות חומרים]]
[[hu:Biztonsági adatlap]]
[[id:Lembar data keselamatan bahan]]
[[it:Scheda di sicurezza]]
[[ja:化学物質安全性データシート]]
[[jv:Lembar data kaslametan bahan]]
[[ko:물질 안전 보건 자료]]
[[lt:Medžiagos saugos duomenų lapas]]
[[nl:Veiligheidsinformatieblad]]
[[no:Sikkerhetsdatablad]]
[[pl:Karta charakterystyki]]
[[pt:MSDS]]
[[ru:Сертификат безопасности материала]]
[[simple:Material safety data sheet]]
[[sl:Varnostni list]]
[[sv:Säkerhetsdatablad]]
[[ta:பொருள் பாதுகாப்பு குறிப்பு தாள்]]
[[uk:Сертифікат безпечності матеріалу]]
[[vi:Bảng chỉ dẫn an toàn hóa chất]]
[[zh:材料安全性数据表]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 01:21, 8 มีนาคม 2556

ตัวอย่าง Material safety data sheet

Material safety data sheet หรือย่อว่า MSDS คือ รายละเอียดของสารเคมีอันตราย[1] ตามกฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน

รายละเอียดของ MSDS

MSDS จะมีลักษณะคล้าย 'ฉลาก' ที่ติดไว้ที่หีบห่อภาชนะบรรจุหรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตราย ซึ่งจะบอกให้รู้ถึงอันตรายของสิ่งที่อยู่ในภาชนะบรรจุ ด้วยป้ายสัญลักษณ์ที่แสดงอันตราย โดยมีการแสดงรายละเอียด ดังนี้

  1. ชื่อทางเคมี หรือ ชื่อทางวิทยาศาสตร์
  2. CAS No. หรือ UN/ID No.
  3. รายละเอียดผู้ผลิต ผู้นำเข้า
  4. การใช้ประโยชน์
  5. ค่ามาตรฐานความเป็นพิษ
  6. คุณสมบัติทางกายภายและเคมี
  7. อันตรายต่อสุขภาพ
  8. ความคงตัวและการเกิดปฏิกิริยา
  9. อัคคีภัย/ระเบิด
  10. การเก็บรักษา/ขนส่ง
  11. การกำจัดกรณีรั่วไหล
  12. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
  13. การปฐมพยาบาล
  14. ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
  15. การปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน

เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานทำงานกับสารเคมีอันตรายนั้นๆ ได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย อีกทั้งสามารถรับมือกับเหตุฉุกเฉินใดๆ อันอาจเกิดจากสารเคมีอันตรายนั้นๆ

อ้างอิง

  1. ความปลอดภัยในการทำงาน กองตรวจความปลอดภัย กรมสวัสดิการคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน