ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นาฬิกาข้อมือ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุขพินทุ (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรายการ ในภาคภาษาอื่นๆ
ป้ายระบุ: เพิ่มลิงก์ข้ามภาษา
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
wd
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''นาฬิกาข้อมือ''' เป็นนาฬิกาแบบพกพาชนิดหนึ่ง ถือกำเนิดในโลก ในปี ค.ศ. 1806 เนื่องจากพระนาง [[โยเซฟิน]] พระมเหสีของพระเจ้านโปเลียนมีความคำนึงถึงนาฬิกา เมื่อพระเจ้านโปเลียนทราบ จึงมีพระบัญชาให้ช่างทำนาฬิกาประดิษฐ์สร้างนาฬิกาแบบผูกข้อมือ ซึ่งเป็นนาฬิกาแบบใหม่ เพื่อมอบให้เป็นของขวัญแก่พระมเหสี นับแต่นั้นมา นาฬิกาข้อมือจึงเป็นอุปกรณ์บอกเวลาที่ได้รับความนิยม ในบางแห่งกล่าวว่า นาฬิกาข้อมือเรือนแรก ของโลก เกิดจาก พระนางคาโรลีน มูราต์ ราชินีแห่งนครเนเปิลส์ ในขณะนั้น ว่าทรงมีพระบัญชาพิเศษ ให้ช่างผลิตนาฬิกาเบรเกต์ ให้เป็นนาฬิกาที่ใช้คล้องข้อมือเป็นครั้งแรก (ค.ศ.1810)
'''นาฬิกาข้อมือ''' เป็นนาฬิกาแบบพกพาชนิดหนึ่ง ถือกำเนิดในโลก ในปี ค.ศ. 1806 เนื่องจากพระนาง [[โยเซฟิน]] พระมเหสีของพระเจ้านโปเลียนมีความคำนึงถึงนาฬิกา เมื่อพระเจ้านโปเลียนทราบ จึงมีพระบัญชาให้ช่างทำนาฬิกาประดิษฐ์สร้างนาฬิกาแบบผูกข้อมือ ซึ่งเป็นนาฬิกาแบบใหม่ เพื่อมอบให้เป็นของขวัญแก่พระมเหสี นับแต่นั้นมา นาฬิกาข้อมือจึงเป็นอุปกรณ์บอกเวลาที่ได้รับความนิยม ในบางแห่งกล่าวว่า นาฬิกาข้อมือเรือนแรก ของโลก เกิดจาก พระนางคาโรลีน มูราต์ ราชินีแห่งนครเนเปิลส์ ในขณะนั้น ว่าทรงมีพระบัญชาพิเศษ ให้ช่างผลิตนาฬิกาเบรเกต์ ให้เป็นนาฬิกาที่ใช้คล้องข้อมือเป็นครั้งแรก (ค.ศ.1810)
[[หมวดหมู่:อุปกรณ์]]
[[หมวดหมู่:อุปกรณ์]]
[[fr:Montre (horlogerie)]]
[[de:Armbanduhr]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:07, 7 มีนาคม 2556

นาฬิกาข้อมือ เป็นนาฬิกาแบบพกพาชนิดหนึ่ง ถือกำเนิดในโลก ในปี ค.ศ. 1806 เนื่องจากพระนาง โยเซฟิน พระมเหสีของพระเจ้านโปเลียนมีความคำนึงถึงนาฬิกา เมื่อพระเจ้านโปเลียนทราบ จึงมีพระบัญชาให้ช่างทำนาฬิกาประดิษฐ์สร้างนาฬิกาแบบผูกข้อมือ ซึ่งเป็นนาฬิกาแบบใหม่ เพื่อมอบให้เป็นของขวัญแก่พระมเหสี นับแต่นั้นมา นาฬิกาข้อมือจึงเป็นอุปกรณ์บอกเวลาที่ได้รับความนิยม ในบางแห่งกล่าวว่า นาฬิกาข้อมือเรือนแรก ของโลก เกิดจาก พระนางคาโรลีน มูราต์ ราชินีแห่งนครเนเปิลส์ ในขณะนั้น ว่าทรงมีพระบัญชาพิเศษ ให้ช่างผลิตนาฬิกาเบรเกต์ ให้เป็นนาฬิกาที่ใช้คล้องข้อมือเป็นครั้งแรก (ค.ศ.1810)