ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษามองโกเลีย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
Xqbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต: แก้ไขจาก pa:ਮੰਗੋਲੀਆਈ ਭਾਸ਼ਾ ไปเป็น pa:ਮੰਗੋਲ ਭਾਸ਼ਾ
บรรทัด 95: บรรทัด 95:
[[nn:Mongolsk]]
[[nn:Mongolsk]]
[[no:Mongolsk]]
[[no:Mongolsk]]
[[pa:ਮੰਗੋਲੀਆਈ ਭਾਸ਼ਾ]]
[[pa:ਮੰਗੋਲ ਭਾਸ਼ਾ]]
[[pl:Język mongolski]]
[[pl:Język mongolski]]
[[pms:Lenga mòngol, periférich]]
[[pms:Lenga mòngol, periférich]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:23, 3 มีนาคม 2556

Mongolian
[[File:1. (Mongghol), เขียนใน อักษรมองโกเลีย
2.Монгол (Mongol), เขียนในอักษรซีริลลิก|200px]]
ประเทศที่มีการพูดจีน คีร์กีซสถาน มองโกเลีย และรัสเซีย
ภูมิภาคมองโกเลีย สาธารณรัฐบูเรียตียา (รัสเซีย) อิสซีก-คูล (คีร์กีซสถาน) มณฑลเหลียวหนิง มณฑลจี๋หลิน และมณฑลเฮย์หลงเจียง (จีน)
จำนวนผู้พูด5.7 ล้าน  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการมองโกเลีย เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน (จีน) และสาธารณรัฐบูเรียตียา (รัสเซีย)
รหัสภาษา
ISO 639-1mn
ISO 639-2mon
ISO 639-3มีหลากหลาย:
mon – Mongolian (generic)
khk – Halh Mongolian
mvf – Peripheral Mongolian

ภาษามองโกเลีย เป็นภาษาทางการของประเทศมองโกเลีย และเป็นภาษาหลักของชาวมองโกเลียส่วนใหญ่ ซึ่งคนพูดส่วนใหญ่จะพูดแบบคัลข่า (Khalkha) นอกจากนี้ ภาษามองโกเลียก็พูดในพื้นที่รอบนอกในบางมณฑลของสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหพันธรัฐรัสเซีย

จัดอยู่ในภาษากลุ่มมองโกลิกซึ่งเป็นกลุ่มของภาษาที่พูดในเอเชียกลาง นักภาษาศาสตร์บางคนได้เสนอให้จัดภาษากลุ่มมองโกลิกร่วมกับภาษากลุ่มเตอร์กิก (ซึ่งมีภาษาตุรกี) และภาษากลุ่มทุงกูซิกให้เป็นตระกูลภาษาอัลไตอิก แต่ไม่เป็นที่ยอมรับโดยสากล

สมาชิกที่เป็นที่รู้จักมากที่สุดของภาษากลุ่มนี้คือ ภาษามองโกเลีย เป็นภาษารูปคำติดต่อคล้ายภาษาตุรกีหรือภาษาฟินน์ มีการเติมปัจจัยที่รากศัพท์ ภาษามองโกเลียมีเพียงสรรพนามบุรุษที่หนึ่งและสอง แต่ไม่มีบุรุษที่สาม แต่ใช้สรรพนามชี้เฉพาะ เช่น นี่ (en) นั่น (ter) นี่ทั้งหลาย (ed nar) และนั่นทั้งหลาย (ted nar) แทน

แม่แบบ:Link FA แม่แบบ:Link GA