ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไฉ่สิ่งเอี้ย"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ca:Cai Shen
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
*ปิดก้วย (筆桿)
*ปิดก้วย (筆桿)
|}
|}
'''เทพเจ้าไฉสิ่งเอี้ย''' หรือ '''จ่ายสินเอี้ย''' ({{lang-zh|财神}}) เป็น[[เทพเจ้าของจีน]]ที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ปีใหม่จีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว
'''ไฉซิ้งเอี้ย''' หรือ '''จ่ายสินเอี้ย''' ({{lang-zh|财神}}; {{lang-en|Cai Shen, God of Wealth, God of fortune}}) เป็น[[เทพเจ้าของจีน]]ที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ปีใหม่จีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว


การเคารพเทพเจ้าไฉสิ่งงเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต จีน ญี่ปุ่น เกาหลี อินเดีย ประเทศไทย มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย เป็นต้น
การเคารพไฉสิ่งงเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น


เทพเจ้าไฉซิ้งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล
ไฉซิ้งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล<ref>[http://global.britannica.com/EBchecked/topic/607569/Caishen ไฉซิ้งเอี้ย จาก[[สารานุกรมบริตานิกา]] {{en}}]</ref>

เชื่อว่าไฉซิ้งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง ในช่วงวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉซิ้งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉซิ้งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00-01.00 น. ของอีกวันหนึ่ง ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้ ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มา่ตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น<ref>[http://www.thairath.co.th/content/life/325266 ***เคล็ดไหว้เทพเจ้าไฉ่ซิ่งเอี้ย*** จากไทยรัฐ]</ref>

==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}

{{commons|Category:God of Wealth}}


{{เรียงลำดับ|ฉไซิ้งเอี้ย}}
{{เรียงลำดับ|ฉไซิ้งเอี้ย}}
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าจีน]]
[[หมวดหมู่:เทพเจ้าจีน]]

{{โครงความเชื่อ}}
[[หมวดหมู่:เทพแห่งโชคลาภ]]
[[หมวดหมู่:เทพแห่งโชคลาภ]]
[[ca:Cai Shen]]
[[ca:Cai Shen]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:38, 10 กุมภาพันธ์ 2556

Names
อักษรจีนตัวย่อ: 财神,财神爷
อักษรจีนตัวเต็ม: 財神,財神爺
พินอิน: Cái-shén,Cái-shén-yé
สำเนียงแต้จิ๋ว: ไช้ซิงเอี๊ย
สำเนียงฮกเกี้ยน: จ๋ายสิน,จ๋ายสินเอี๊ยะ
ภาษาญี่ปุ่น | : 富の神
ภาษาเกาหลี | อักษรฮันกุล: 생애
เกาหลี: saeng-ae
ภาษาเวียดนาม: Thần Tài
ชื่ออื่นๆ :
  • เจ้าก๊องเบี้ยง (趙公明)
  • ปิดก้วย (筆桿)

ไฉซิ้งเอี้ย หรือ จ่ายสินเอี้ย (จีน: 财神; อังกฤษ: Cai Shen, God of Wealth, God of fortune) เป็นเทพเจ้าของจีนที่ให้คุณทางด้านเงินทอง และโชคลาภ (เทพเจ้าแห่งโชคลาภ) ซึ่งสำหรับชาวจีนแล้วถือเป็นเทพเจ้าที่มีความสำคัญมากที่สุดในการเริ่มเข้าสู่ปีนักษัตรใหม่ (ปีใหม่จีน) เนื่องจากเป็นเทพเจ้าที่ได้รับการกราบไหว้เป็นองค์แรกทีเดียว

การเคารพไฉสิ่งงเอี้ย สามารถพบได้ในหลายประเทศในทวีปเอเชีย เช่น ทิเบต, จีน, ญี่ปุ่น, เกาหลี, อินเดีย, ไทย, มาเลเซีย, สิงคโปร์, อินโดนีเซีย, มาเก๊า, ฮ่องกง เป็นต้น

ไฉซิ้งเอี้ยที่มีความเก่าแก่ที่สุดพบที่บนหน้าผาในทิเบต เรียกว่าปางชัมภล[1]

เชื่อว่าไฉซิ้งเอี้ย จะเสด็จมายังโลกมนุษย์เพียงปีละครั้ง ในช่วงวันตรุษจีน ดังนั้น ชาวจีนตั้งแต่โบราณเมื่อเข้าสู่วันตรุษจีน (นับตั้งแต่ 0.00 น.) จะทำการตั้งโต๊ะบูชาไฉซิ้งเอี้ย โดยการหันหน้าไปทิศต่าง ๆ ที่เชื่อว่าไฉซิ้งเอี้ยจะเสด็จลงมา ซึ่งจะแตกต่างกันไปในแต่ละปี โดยเวลาที่จะทำการบูชา คือ 23.00-01.00 น. ของอีกวันหนึ่ง ซึ่งของที่ทำการบูชาใช้ของหวาน เช่น ผลไม้ ไม่ใ้ช้ของคาวหรือเนื้อสัตว์ พร้อมกับนำสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเงินทอง เช่น สมุดบัญชีธนาคาร, เช็ค หรือกระเป๋าเงิน มา่ตั้งวางไว้ด้วย เป็นต้น[2]

อ้างอิง