ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระทิง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด
บรรทัด 19: บรรทัด 19:
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| subdivision_ranks = [[ชนิดย่อย]]
| subdivision = {{hidden begin|ชนิืดย่อย}}
| subdivision = {{hidden begin|ชนิืดย่อย}}
*''B. g. laosiensis''<br />
* ''B. g. laosiensis''<br />
* '' B. g. gaurus''<br />
* '' B. g. gaurus''<br />
* ''B. g. readei''<br />
* ''B. g. readei''<br />
บรรทัด 26: บรรทัด 26:
{{hidden end}}
{{hidden end}}
| synonyms = {{hidden begin|ชื่อพ้อง}}
| synonyms = {{hidden begin|ชื่อพ้อง}}
*''Bos asseel'' <small>Horsfield, 1851</small>
* ''Bos asseel'' <small>Horsfield, 1851</small>
*''Bos cavifrons'' <small>Hodgson, 1837</small>
* ''Bos cavifrons'' <small>Hodgson, 1837</small>
*''Bos frontalis'' <small>Lambert, [[ค.ศ. 1804|1804]]</small>
* ''Bos frontalis'' <small>Lambert, [[ค.ศ. 1804|1804]]</small>
*''Bos gaur'' <small>Sundevall, 1846</small>
* ''Bos gaur'' <small>Sundevall, 1846</small>
*''Bos gaurus'' <small>Lydekker, 1907</small> ssp. ''hubbacki''
* ''Bos gaurus'' <small>Lydekker, 1907</small> ssp. ''hubbacki''
*''Bos gour'' <small>Hardwicke, 1827</small>
* ''Bos gour'' <small>Hardwicke, 1827</small>
*''Bos subhemachalus'' <small>Hodgson, 1837</small>
* ''Bos subhemachalus'' <small>Hodgson, 1837</small>
*''Bubalibos annamiticus'' <small>Heude, 1901</small>
* ''Bubalibos annamiticus'' <small>Heude, 1901</small>
*''Gauribos brachyrhinus'' <small>Heude, 1901</small>
* ''Gauribos brachyrhinus'' <small>Heude, 1901</small>
*''Gauribos laosiensis'' <small>Heude, 1901</small>
* ''Gauribos laosiensis'' <small>Heude, 1901</small>
*''Gauribos mekongensis'' <small>Heude, 1901</small>
* ''Gauribos mekongensis'' <small>Heude, 1901</small>
*''Gauribos sylvanus'' <small>Heude, 1901</small>
* ''Gauribos sylvanus'' <small>Heude, 1901</small>
*''Uribos platyceros'' <small>Heude, 1901</small>
* ''Uribos platyceros'' <small>Heude, 1901</small>
{{hidden end}}
{{hidden end}}
| range_map = Gaur map.png
| range_map = Gaur map.png
บรรทัด 50: บรรทัด 50:
มีขนยาว ตัวสีดำหรือดำแกมน้ำตาล เว้นแต่ที่ตรงหน้าผากและครึ่งล่างของขาทั้ง 4 เป็นสีขาวเทา ๆ หรือเหลืองอย่างสีทอง เรีบกว่า "หน้าโพ" ขาทั้ง 4 ข้างตั้งแต่เหนือเข่าลงไปถึงกีบเท้ามีสีขาวเทาหรือเหลืองทอง ทำให้มองดูเหมือนสวมถุงเท้า สีขนของกระทิงบริเวณหน้าผากและถุงเท้าเกิดจากคราบน้ำมันในเหงื่อซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสัตว์ชนิดนี้ คอสั้น และมีพืม (เหนียงคอ) ห้อยยาวลงมาจากใต้คอ เขามีสีเขียวเข้ม ปลายเขามีสีดบริเวณโคนเขามีรอยย่นซึ่งรอยนี้จะมีมากขึ้นเมื่อสูงวัยขึ้น
มีขนยาว ตัวสีดำหรือดำแกมน้ำตาล เว้นแต่ที่ตรงหน้าผากและครึ่งล่างของขาทั้ง 4 เป็นสีขาวเทา ๆ หรือเหลืองอย่างสีทอง เรีบกว่า "หน้าโพ" ขาทั้ง 4 ข้างตั้งแต่เหนือเข่าลงไปถึงกีบเท้ามีสีขาวเทาหรือเหลืองทอง ทำให้มองดูเหมือนสวมถุงเท้า สีขนของกระทิงบริเวณหน้าผากและถุงเท้าเกิดจากคราบน้ำมันในเหงื่อซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสัตว์ชนิดนี้ คอสั้น และมีพืม (เหนียงคอ) ห้อยยาวลงมาจากใต้คอ เขามีสีเขียวเข้ม ปลายเขามีสีดบริเวณโคนเขามีรอยย่นซึ่งรอยนี้จะมีมากขึ้นเมื่อสูงวัยขึ้น


กระทิงตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ลูกที่เกิดขึ้นจะมีสีน้ำตาลแกมแดงเหมือนสีขนของ[[เก้ง]] มีเส้นสีดำพาดกลางหลัง ลูกกระทิงขนาดเล็กจะยังไม่มีถุงเท้าเหมือนกระทิงตัวโต มีความยาวลำตัวและหัว 250 - 300 [[เซนติเมตร]] หาง 70 - 105 เซนติเมตร ความสูงจากพื้นถึงหัวไหล่ 170 - 185 เซนติเมตร น้ำหนัก 650 - 900 [[กิโลกรัม]] โดยตัวผู้มีน้ำหนักมากกว่าตัวเมีย มีการกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของ[[จีน]], [[อินเดีย]], [[ภูฐาน]], [[เนปาล]], [[พม่า]], [[ไทย]], [[ลาว]], [[กัมพูชา]], [[เวียดนาม]], [[มาเลเซีย]] โดยแบ่งออกได้เป็น[[ชนิดย่อย]] 5 ชนิด
กระทิงตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ลูกที่เกิดขึ้นจะมีสีน้ำตาลแกมแดงเหมือนสีขนของ[[เก้ง]] มีเส้นสีดำพาดกลางหลัง ลูกกระทิงขนาดเล็กจะยังไม่มีถุงเท้าเหมือนกระทิงตัวโต มีความยาวลำตัวและหัว 250 - 300 [[เซนติเมตร]] หาง 70 - 105 เซนติเมตร ความสูงจากพื้นถึงหัวไหล่ 170 - 185 เซนติเมตร น้ำหนัก 650 - 900 [[กิโลกรัม]] โดยตัวผู้มีน้ำหนักมากกว่าตัวเมีย มีการกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของ[[จีน]], [[อินเดีย]], [[ภูฐาน]], [[เนปาล]], [[พม่า]], [[ไทย]], [[ลาว]], [[กัมพูชา]], [[เวียดนาม]], [[มาเลเซีย]] โดยแบ่งออกได้เป็น[[ชนิดย่อย]] 5 ชนิด


== ชนิดย่อย ==
== ชนิดย่อย ==
*''B. g. laosiensis'' พบในพม่าถึงจีน
* ''B. g. laosiensis'' พบในพม่าถึงจีน
*'' B. g. gaurus'' พบในอินเดียและเนปาล
* '' B. g. gaurus'' พบในอินเดียและเนปาล
*''B. g. readei''
* ''B. g. readei''
*''B. g. hubbacki'' พบในไทยและมาเลเซีย
* ''B. g. hubbacki'' พบในไทยและมาเลเซีย
*''B. g. frontalis'' หรือ กระทิงเขาทุย มีเขาที่สั้น เชื่อว่าเป็นลูกผสมระหว่างกระทิงกับวัวบ้าน พบในอินเดีย
* ''B. g. frontalis'' หรือ กระทิงเขาทุย มีเขาที่สั้น เชื่อว่าเป็นลูกผสมระหว่างกระทิงกับวัวบ้าน พบในอินเดีย


== พฤติกรรม ==
== พฤติกรรม ==
มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิกตั้งแต่ 2 - 60 ตัว สมาชิกในฝูงประกอบด้วยตัวเมียและลูก บางครั้งอาจเข้าไปหากินรวมฝูงกับ[[วัวแดง]] (''B. javanicus'') หรือสัตว์กินพืชชนิดอื่น ตัวผู้มักอาศัยอยู่ตามลำพังแต่จะเข้าไปอยู่รวมฝูงเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ฝูงกระทิงจะเดินหากินสลับไปกับการนอนหลับพักผ่อนตลอดทั้งวัน โดยบางตัวจะนอนหลับท่ายืนหรือนอนราบกับพื้น สามารถอาศัยอยู่ได้ในหลากหลายสภาพป่า ทั้ง[[ป่าเบญจพรรณ]], [[ป่าเต็งรัง]], [[ป่าดิบ|ป่าดิบแล้ง]], [[ป่าดิบ|ป่าดิบเขา]] หรือบางครั้งก็อาจเข้าไปหากินอยู่ตามไร่ร้างหรือป่าที่อยู่ในสภาพฟื้นฟูจากการทำลาย มักหากินอยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้ำมากนักเนื่องจากอดน้ำไม่เก่ง ช่วงฤดูหลังไฟไหม้ป่า จะออกหากินยอดไม้อ่อนและหญ้าระบัดที่มีอยู่มากตามทุ่งหญ้า และป่าเต็งรัง
มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิกตั้งแต่ 2 - 60 ตัว สมาชิกในฝูงประกอบด้วยตัวเมียและลูก บางครั้งอาจเข้าไปหากินรวมฝูงกับ[[วัวแดง]] (''B. javanicus'') หรือสัตว์กินพืชชนิดอื่น ตัวผู้มักอาศัยอยู่ตามลำพังแต่จะเข้าไปอยู่รวมฝูงเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ฝูงกระทิงจะเดินหากินสลับไปกับการนอนหลับพักผ่อนตลอดทั้งวัน โดยบางตัวจะนอนหลับท่ายืนหรือนอนราบกับพื้น สามารถอาศัยอยู่ได้ในหลากหลายสภาพป่า ทั้ง[[ป่าเบญจพรรณ]], [[ป่าเต็งรัง]], [[ป่าดิบ|ป่าดิบแล้ง]], [[ป่าดิบ|ป่าดิบเขา]] หรือบางครั้งก็อาจเข้าไปหากินอยู่ตามไร่ร้างหรือป่าที่อยู่ในสภาพฟื้นฟูจากการทำลาย มักหากินอยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้ำมากนักเนื่องจากอดน้ำไม่เก่ง ช่วงฤดูหลังไฟไหม้ป่า จะออกหากินยอดไม้อ่อนและหญ้าระบัดที่มีอยู่มากตามทุ่งหญ้า และป่าเต็งรัง


== สถานะ ==
== สถานะ ==
บรรทัด 74: บรรทัด 74:
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.thailandoutdoor.com/JungleandSea/Krating/krating.html ความฝัน, ความตั้งใจและการกลับมาของฝูงกระทิง]
* [http://www.thailandoutdoor.com/JungleandSea/Krating/krating.html ความฝัน, ความตั้งใจและการกลับมาของฝูงกระทิง]
* [http://youtube.com/watch?v=-QMHbdw0a9k Gaur 900 - 1700 kg]
* [http://youtube.com/watch?v=-QMHbdw0a9k Gaur 900 - 1700 kg]
{{wikispecies-inline|Bos gaurus}}
{{wikispecies-inline|Bos gaurus}}
[[หมวดหมู่:สัตว์ป่าคุ้มครอง]]
[[หมวดหมู่:สัตว์ป่าคุ้มครอง]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 21:30, 30 มกราคม 2556

กระทิง
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Artiodactyla
วงศ์: Bovidae
วงศ์ย่อย: Bovinae
สกุล: Bos
สปีชีส์: B.  gaurus
ชื่อทวินาม
Bos gaurus
(Smith, 1827)
ชนิดย่อย
  • B. g. laosiensis
  • B. g. gaurus
  • B. g. readei
  • B. g. hubbacki
  • B. g. frontalis
แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์
ชื่อพ้อง
  • Bos asseel Horsfield, 1851
  • Bos cavifrons Hodgson, 1837
  • Bos frontalis Lambert, 1804
  • Bos gaur Sundevall, 1846
  • Bos gaurus Lydekker, 1907 ssp. hubbacki
  • Bos gour Hardwicke, 1827
  • Bos subhemachalus Hodgson, 1837
  • Bubalibos annamiticus Heude, 1901
  • Gauribos brachyrhinus Heude, 1901
  • Gauribos laosiensis Heude, 1901
  • Gauribos mekongensis Heude, 1901
  • Gauribos sylvanus Heude, 1901
  • Uribos platyceros Heude, 1901

กระทิง หรือ เมย[1] (อังกฤษ: Gaur, Indian bison) เป็นวัวป่าชนิด Bos gaurus ในวงศ์ Bovidae

ลักษณะ

มีขนยาว ตัวสีดำหรือดำแกมน้ำตาล เว้นแต่ที่ตรงหน้าผากและครึ่งล่างของขาทั้ง 4 เป็นสีขาวเทา ๆ หรือเหลืองอย่างสีทอง เรีบกว่า "หน้าโพ" ขาทั้ง 4 ข้างตั้งแต่เหนือเข่าลงไปถึงกีบเท้ามีสีขาวเทาหรือเหลืองทอง ทำให้มองดูเหมือนสวมถุงเท้า สีขนของกระทิงบริเวณหน้าผากและถุงเท้าเกิดจากคราบน้ำมันในเหงื่อซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสัตว์ชนิดนี้ คอสั้น และมีพืม (เหนียงคอ) ห้อยยาวลงมาจากใต้คอ เขามีสีเขียวเข้ม ปลายเขามีสีดบริเวณโคนเขามีรอยย่นซึ่งรอยนี้จะมีมากขึ้นเมื่อสูงวัยขึ้น

กระทิงตัวผู้มีขนาดใหญ่กว่าตัวเมีย ลูกที่เกิดขึ้นจะมีสีน้ำตาลแกมแดงเหมือนสีขนของเก้ง มีเส้นสีดำพาดกลางหลัง ลูกกระทิงขนาดเล็กจะยังไม่มีถุงเท้าเหมือนกระทิงตัวโต มีความยาวลำตัวและหัว 250 - 300 เซนติเมตร หาง 70 - 105 เซนติเมตร ความสูงจากพื้นถึงหัวไหล่ 170 - 185 เซนติเมตร น้ำหนัก 650 - 900 กิโลกรัม โดยตัวผู้มีน้ำหนักมากกว่าตัวเมีย มีการกระจายพันธุ์ในภาคใต้ของจีน, อินเดีย, ภูฐาน, เนปาล, พม่า, ไทย, ลาว, กัมพูชา, เวียดนาม, มาเลเซีย โดยแบ่งออกได้เป็นชนิดย่อย 5 ชนิด

ชนิดย่อย

  • B. g. laosiensis พบในพม่าถึงจีน
  • B. g. gaurus พบในอินเดียและเนปาล
  • B. g. readei
  • B. g. hubbacki พบในไทยและมาเลเซีย
  • B. g. frontalis หรือ กระทิงเขาทุย มีเขาที่สั้น เชื่อว่าเป็นลูกผสมระหว่างกระทิงกับวัวบ้าน พบในอินเดีย

พฤติกรรม

มีพฤติกรรมอาศัยอยู่รวมกันเป็นฝูง โดยฝูงหนึ่งมีสมาชิกตั้งแต่ 2 - 60 ตัว สมาชิกในฝูงประกอบด้วยตัวเมียและลูก บางครั้งอาจเข้าไปหากินรวมฝูงกับวัวแดง (B. javanicus) หรือสัตว์กินพืชชนิดอื่น ตัวผู้มักอาศัยอยู่ตามลำพังแต่จะเข้าไปอยู่รวมฝูงเมื่อถึงฤดูผสมพันธุ์ ฝูงกระทิงจะเดินหากินสลับไปกับการนอนหลับพักผ่อนตลอดทั้งวัน โดยบางตัวจะนอนหลับท่ายืนหรือนอนราบกับพื้น สามารถอาศัยอยู่ได้ในหลากหลายสภาพป่า ทั้งป่าเบญจพรรณ, ป่าเต็งรัง, ป่าดิบแล้ง, ป่าดิบเขา หรือบางครั้งก็อาจเข้าไปหากินอยู่ตามไร่ร้างหรือป่าที่อยู่ในสภาพฟื้นฟูจากการทำลาย มักหากินอยู่ไม่ไกลจากแหล่งน้ำมากนักเนื่องจากอดน้ำไม่เก่ง ช่วงฤดูหลังไฟไหม้ป่า จะออกหากินยอดไม้อ่อนและหญ้าระบัดที่มีอยู่มากตามทุ่งหญ้า และป่าเต็งรัง

สถานะ

สถานะในประเทศไทยเป็นสัตว์ป่าคุ้มครองประเภทที่ 2 พบเพียงที่เดียว คือ เขาแผงม้า ในอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ และสถานะในสหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ (IUCN) จัดให้อยู่ในระดับ CR (Critically Endangered) หมายถึงมีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ในพื้นที่ธรรมชาติขณะนี้

อ้างอิง

  1. กระทิง, แฟ้มสัตว์โลก, โลกสีเขียว

แหล่งข้อมูลอื่น

ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Bos gaurus ที่วิกิสปีชีส์